วันจันทร์ที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553
วันอาทิตย์ที่ 31 ตุลาคม พ.ศ. 2553
ประโยชน์ของกล้วย

ประโยชน์ของกล้วย..นำมาฝากครับ
กล้วยเป็น อาหารที่ใช้ต่อสู้กับอาการผิดปกติต่างๆในระบบทางเดินอาหารได้เนื่องจากกล้วย มีผิวสัมผัสที่นุ่มและลื่น
กล้วยเป็นผลไม้ชนิดเดียวที่สามารถทานได้โดยไม่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อผู้ที่ เป็นแผลเรื้อรัง กล้วยยังช่วยปรับภาวะ
กรดเกินในกระเพาะอาหารให้กลับสู่ปกติได้ รวมทั้งช่วยลดอาการระคายเคืองเพราะกล้วยจะช่วยเคลือบผิวของกระเพาะ
อาหารได้ ซึ่งบางท่านอาจจะชอบทานของหวาน
ซึ่งเราสามารถทำกล้วยให้เป็นของหวานได้
คือ การทำกล้วยบวชชีดังนั้น เพื่อสุขภาพที่ดีของตัวท่านเอง แต่ท่านเป็นคนที่ชอบทานของหวาน ก็หันมาทานกล้วยบวชชีกันดีกว่า
กล้วยเป็น อาหารที่ใช้ต่อสู้กับอาการผิดปกติต่างๆในระบบทางเดินอาหารได้เนื่องจากกล้วย มีผิวสัมผัสที่นุ่มและลื่น
กล้วยเป็นผลไม้ชนิดเดียวที่สามารถทานได้โดยไม่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อผู้ที่ เป็นแผลเรื้อรัง กล้วยยังช่วยปรับภาวะ
กรดเกินในกระเพาะอาหารให้กลับสู่ปกติได้ รวมทั้งช่วยลดอาการระคายเคืองเพราะกล้วยจะช่วยเคลือบผิวของกระเพาะ
อาหารได้ ซึ่งบางท่านอาจจะชอบทานของหวาน
ซึ่งเราสามารถทำกล้วยให้เป็นของหวานได้
คือ การทำกล้วยบวชชีดังนั้น เพื่อสุขภาพที่ดีของตัวท่านเอง แต่ท่านเป็นคนที่ชอบทานของหวาน ก็หันมาทานกล้วยบวชชีกันดีกว่า
ประวัติของฉัน

นายญาณภัทร ศรีทอง
ที่อยู่ 237/51 สามร้อยห้อง
ถ.เดิมบาง ต.มหาชัย อ.เมือง จ.สมุทรสาคร
รหัสไปรษณีย์ 74000
ปัจจุบันเป็นนักศึกษาวิทยาลัยชุมชนสมุรสาคร
สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ปีที่ 1
อีเมล์ ynp_010253@hotmail.com อีเมล์ของฉัน
วิชาเทคโนโลยีอินเตอร์เน็ต
อ.สราวุธ วงษ์จู อาจารณ์ผู้สอน
อีเมล์ SMKcc.sarawoot@gmail.com
วิทยาลัยชุมชน http://www.smkcc.ac.th/
ที่อยู่ 237/51 สามร้อยห้อง
ถ.เดิมบาง ต.มหาชัย อ.เมือง จ.สมุทรสาคร
รหัสไปรษณีย์ 74000
ปัจจุบันเป็นนักศึกษาวิทยาลัยชุมชนสมุรสาคร
สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ปีที่ 1
อีเมล์ ynp_010253@hotmail.com อีเมล์ของฉัน
วิชาเทคโนโลยีอินเตอร์เน็ต
อ.สราวุธ วงษ์จู อาจารณ์ผู้สอน
อีเมล์ SMKcc.sarawoot@gmail.com
วิทยาลัยชุมชน http://www.smkcc.ac.th/
วิธีการทำกล้วยบวชชี และ สมุนไพรแก้อาการท้องเสีย
วิธีการทำกล้วยบวชชี
กล้วยกับคนไทยเป็นของคู่กันมาช้านาน เห็นได้จาก การที่คนไทยรู้จักบดกล้วยให้เด็กๆ ทาน นอกเหนือจากนม มาตั้งนานล่ะ เพราะกล้วยมีสารพัดวิตามิน ไม่ว่าจะเป็นแคลเซียม ฟอสฟอรัส เหล็ก บี 1 บี 2 ไนอาซิน เบต้าแคโรทีน รวมถึงกากใยอาหาร ใครที่เครียดๆ และนอนไม่หลับ ทานกล้วยแล้ว ความกังวลจะลดลง และหลับได้สบายขึ้น
สมุนไพรแก้อาการท้องเสีย

การท้องเสียเกิดจากสาเหตุหลายประการ อาการท้องเสียที่เกิดจากรับประทานอาหารรสเผ็ดจัด เปรี้ยวจัด ซึงระคายเคืองเนื้อเยื่อบุผิวกระเพาะอาหารและลำไส้ ทำให้บีบตัวมากผิดปกติ มักถ่ายหลังอาหารประมาณ 1-2 ชั่วโมงและต้องถ่ายบ่อย มีลักษณะหยาบและเป็นน้ำ กลิ่นเหม็นผิดปกติ ไม่มีอันตราย แต่จะมวนท้องและรำคาญ ใช้สมุนไพรรักษาได้ดี ที่สำคัญคือท้องเสียจากการรับประทานอาหารที่ไม่สะอาด มีเชื้อโรค เชื้อโรคที่ทำให้ท้องเสียมีอยู่หลายชนิด ทั้งที่มีพิษไม่รุนแรงนักจนถึงรุนแรงมาก เช่น อาหารเป็นพิษ อาจถ่ายเป็นน้ำสีเหลืองหรือขาวขุ่น เป็นฟองกลิ่นเหม็นเหมือนกุ้งเน่า บางครั้งมีอาเจียนร่วมด้วย หรือไม่ถ่ายแต่อาเจียนและปวดท้องมากก็ได้ มักท้องเสียใน 6-12 ชั่วโมง ควรรีบไปพบแพทย์และรักษาให้ถูกต้อง อาจเป็นอันตรายถึงตายได้
สมุนไพรที่ใช้แก้อาการท้องเดินที่ใช้ได้ผลและหาได้ง่าย คือ ใบชาชงเข้มข้น กล้วยน้ำว้าดิบ ทับทิม ฟ้าทะลาย สีเสียดเหนือ มังคุดและฝรั่ง ควรงดอาหารรสจัด และทานอาหารอ่อนๆทดแทนการสูญเสียน้ำด้วยการดื่มน้ำเกลือซึ่งมีจำหน่าย หรือเตรียมเองก็ได้ โดยใช้น้ำตาลทราย 2 ช้อนโต๊ะ เกลือป่นครึ่งช้อนชา น้ำ 1 ขวดน้ำปลา ต้มให้เดือดสักครู่ ทิ้งให้เย็น ดื่มแทนน้ำ
สารสำคัญในสมุนไพรที่ออกฤทธิ์แก้อาการท้องเสียส่วนใหญ่ คือ สารในกลุ่มแทนนินซึ่งมีรสฝาดและมีฤทธิ์ฝาดสมาน ในกรณีท้องเสีย เนื้อเยื่อที่ผนังลำไส้ใหญ่มีการระคายเคือง อาจเนื่องจากสารอาหารรสจัด สารเคมีบางชนิดหรือพิษของเชื้อโรค ทำให้ลำไส้ใหญ่บีบตัวมากกว่าปกติ จึงเกิดการถ่ายอุจจาระบ่อยๆ สารแทนนินเมื่อสัมผัสกับผนังลำไส้ใหญ่จะรวมตัวกับโปรตีนที่เนือ้เยื่อบุผิวแล้วเปลี่ยนเป็นสารที่สามารถทำลายโปรตีนของตัวเชื้อโรคและทำให้เชื้อโรคตาย การใช้สมุนไพรที่มีแทนนินมีข้อควรระวังสำหรับผู้ที่มีแผลในกระเพาะอาหารและลำไส้ เพราะแทนนินอาจถูกดูดซึมเข้าร่างกายในปริมาณมาก และมีผลเสียต่อตับ
กล้วยน้ำว้า รับประทานผลดิบสดครั้งละครึ่งถึง 1 ผล อาจใช้ผลดิบหั่นบางๆตากแห้ง บดเป็นผงชงน้ำดื่ม ใช้ผงยาเท่ากับครึ่งถึง 1 ผล ข้อควรระวัง อาจมีการท้องอืดหลังรับประทานยานี้ แก้ได้โดยดื่มน้ำต้มขิงหรือสมุนไพรขับลมอื่นๆ
ทับทิม ใช้เปลือกผลแห้งประมาณ 1/4 ของผล ต้มกับน้ำปูนใสดื่ม หรือใช้ครั้งละ 3-5 กรัม ต้มน้ำดื่ม วันละ 2 ครั้ง เช้า-เย็น
ฝรั่ง ใช้ใบแก่ 10-15 ใบ ย่างไฟให้กรอก ต้มน้ำดื่ม 1 แก้ว เหยาะเกลือเล็กน้อย ดื่มต่างน้ำ หรือใช้ผลดิบ 1 ผล ฝนกับน้ำปูนใสดื่ม
ฟ้าทะลายโจร พืชสด 1-3 กำมือ ต้มน้ำดื่มก่อนอาหารวันละ 3 ครั้ง สำหรับผงฟ้าทะลายที่บรรจุแคปซูลๆละ 500 มิลลิกรัม ให้กินครั้งละ 2 เม็ด วันละ 2-3 ครั้ง ก่อนอาหารเช้า กลางวันและเย็น หยุดยาเมื่อหยุดถ่าย อาจใช้ในรูปผงละลายน้ำหรือปั้นเป็นลูกกลอนก็ได้ โดยคำนวณจากจำนวนเม็ดให้ได้ปริมาณยาตามที่กำหนด อาการข้างเคียงที่อาจพบ คือ คลื่นไส้ อาเจียนเป็นน้ำใส ไม่สบายในท้อง ถ้าเป็นมากให้หยุดยา

มังคุด ใช้เปลือกผลแห้งครึ่งผล (ประมาณ 4 กรัม) ย่างไฟให้เกรียม บดเป็นผงละลายน้ำหรือฝนกับน้ำปูนใสประมาณครึ่งแก้ว ใช้น้ำดื่มทุก 2 ชั่วโมง
ที่มา http://www.samunpri.com/modules.php?...&func=tongseay
กล้วยบวชชี

ส่วนผสม
กล้วยน้ำว้า สุกพอดี 10ลูก
มะพร้าวขูด 1/2 กก.
น้ำตาลทราย 3/4 ถ้วย
เกลือป่น 1ช้อนชา
มะพร้าวขูด 1/2 กก.
น้ำตาลทราย 3/4 ถ้วย
เกลือป่น 1ช้อนชา
วิธีทำ

1.คั้นมะพร้าวกับน้ำ 2 1/2 ถ้วย ให้ได้หัวกะทิ 1/2 ถ้วย หางกะทิ 3 ถ้วย พักไว้
2.ปอกกล้วย ผ่าครึ่งลูก แล้วตัดตามยาว ให้ได้ 1 ลูก 4 ชิ้น (ถ้ากล้วยฝาดให้ต้มกล้วยให้สุกก่อน แล้วตักขึ้น พักไว้)
3.ใส่กะทิลงในหม้อตั้งไฟกลางให้เดือด ใส่กล้วย ต้มจนกล้วยสุก ใส่น้ำตาล เกลือ พอน้ำตาลละลายหมด ใส่หัวกะทิ ปิดไฟ (ถ้าต้มกล้วยก่อน ให้ต้มกะทิกับน้ำตาล และเกลือจนเดือด แล้วค่อยใส่กล้วย)
4.ยกเสิร์ฟได้ทั้งร้อน และเย็น
ที่มา : http://61.19.46.190/school/main1/food/buadche.html

1.คั้นมะพร้าวกับน้ำ 2 1/2 ถ้วย ให้ได้หัวกะทิ 1/2 ถ้วย หางกะทิ 3 ถ้วย พักไว้
2.ปอกกล้วย ผ่าครึ่งลูก แล้วตัดตามยาว ให้ได้ 1 ลูก 4 ชิ้น (ถ้ากล้วยฝาดให้ต้มกล้วยให้สุกก่อน แล้วตักขึ้น พักไว้)
3.ใส่กะทิลงในหม้อตั้งไฟกลางให้เดือด ใส่กล้วย ต้มจนกล้วยสุก ใส่น้ำตาล เกลือ พอน้ำตาลละลายหมด ใส่หัวกะทิ ปิดไฟ (ถ้าต้มกล้วยก่อน ให้ต้มกะทิกับน้ำตาล และเกลือจนเดือด แล้วค่อยใส่กล้วย)
4.ยกเสิร์ฟได้ทั้งร้อน และเย็น
ที่มา : http://61.19.46.190/school/main1/food/buadche.html

สมุนไพรแก้อาการท้องเสีย

การท้องเสียเกิดจากสาเหตุหลายประการ อาการท้องเสียที่เกิดจากรับประทานอาหารรสเผ็ดจัด เปรี้ยวจัด ซึงระคายเคืองเนื้อเยื่อบุผิวกระเพาะอาหารและลำไส้ ทำให้บีบตัวมากผิดปกติ มักถ่ายหลังอาหารประมาณ 1-2 ชั่วโมงและต้องถ่ายบ่อย มีลักษณะหยาบและเป็นน้ำ กลิ่นเหม็นผิดปกติ ไม่มีอันตราย แต่จะมวนท้องและรำคาญ ใช้สมุนไพรรักษาได้ดี ที่สำคัญคือท้องเสียจากการรับประทานอาหารที่ไม่สะอาด มีเชื้อโรค เชื้อโรคที่ทำให้ท้องเสียมีอยู่หลายชนิด ทั้งที่มีพิษไม่รุนแรงนักจนถึงรุนแรงมาก เช่น อาหารเป็นพิษ อาจถ่ายเป็นน้ำสีเหลืองหรือขาวขุ่น เป็นฟองกลิ่นเหม็นเหมือนกุ้งเน่า บางครั้งมีอาเจียนร่วมด้วย หรือไม่ถ่ายแต่อาเจียนและปวดท้องมากก็ได้ มักท้องเสียใน 6-12 ชั่วโมง ควรรีบไปพบแพทย์และรักษาให้ถูกต้อง อาจเป็นอันตรายถึงตายได้
สมุนไพรที่ใช้แก้อาการท้องเดินที่ใช้ได้ผลและหาได้ง่าย คือ ใบชาชงเข้มข้น กล้วยน้ำว้าดิบ ทับทิม ฟ้าทะลาย สีเสียดเหนือ มังคุดและฝรั่ง ควรงดอาหารรสจัด และทานอาหารอ่อนๆทดแทนการสูญเสียน้ำด้วยการดื่มน้ำเกลือซึ่งมีจำหน่าย หรือเตรียมเองก็ได้ โดยใช้น้ำตาลทราย 2 ช้อนโต๊ะ เกลือป่นครึ่งช้อนชา น้ำ 1 ขวดน้ำปลา ต้มให้เดือดสักครู่ ทิ้งให้เย็น ดื่มแทนน้ำ
สารสำคัญในสมุนไพรที่ออกฤทธิ์แก้อาการท้องเสียส่วนใหญ่ คือ สารในกลุ่มแทนนินซึ่งมีรสฝาดและมีฤทธิ์ฝาดสมาน ในกรณีท้องเสีย เนื้อเยื่อที่ผนังลำไส้ใหญ่มีการระคายเคือง อาจเนื่องจากสารอาหารรสจัด สารเคมีบางชนิดหรือพิษของเชื้อโรค ทำให้ลำไส้ใหญ่บีบตัวมากกว่าปกติ จึงเกิดการถ่ายอุจจาระบ่อยๆ สารแทนนินเมื่อสัมผัสกับผนังลำไส้ใหญ่จะรวมตัวกับโปรตีนที่เนือ้เยื่อบุผิวแล้วเปลี่ยนเป็นสารที่สามารถทำลายโปรตีนของตัวเชื้อโรคและทำให้เชื้อโรคตาย การใช้สมุนไพรที่มีแทนนินมีข้อควรระวังสำหรับผู้ที่มีแผลในกระเพาะอาหารและลำไส้ เพราะแทนนินอาจถูกดูดซึมเข้าร่างกายในปริมาณมาก และมีผลเสียต่อตับ
กล้วยน้ำว้า รับประทานผลดิบสดครั้งละครึ่งถึง 1 ผล อาจใช้ผลดิบหั่นบางๆตากแห้ง บดเป็นผงชงน้ำดื่ม ใช้ผงยาเท่ากับครึ่งถึง 1 ผล ข้อควรระวัง อาจมีการท้องอืดหลังรับประทานยานี้ แก้ได้โดยดื่มน้ำต้มขิงหรือสมุนไพรขับลมอื่นๆ
ทับทิม ใช้เปลือกผลแห้งประมาณ 1/4 ของผล ต้มกับน้ำปูนใสดื่ม หรือใช้ครั้งละ 3-5 กรัม ต้มน้ำดื่ม วันละ 2 ครั้ง เช้า-เย็น
ฝรั่ง ใช้ใบแก่ 10-15 ใบ ย่างไฟให้กรอก ต้มน้ำดื่ม 1 แก้ว เหยาะเกลือเล็กน้อย ดื่มต่างน้ำ หรือใช้ผลดิบ 1 ผล ฝนกับน้ำปูนใสดื่ม
ฟ้าทะลายโจร พืชสด 1-3 กำมือ ต้มน้ำดื่มก่อนอาหารวันละ 3 ครั้ง สำหรับผงฟ้าทะลายที่บรรจุแคปซูลๆละ 500 มิลลิกรัม ให้กินครั้งละ 2 เม็ด วันละ 2-3 ครั้ง ก่อนอาหารเช้า กลางวันและเย็น หยุดยาเมื่อหยุดถ่าย อาจใช้ในรูปผงละลายน้ำหรือปั้นเป็นลูกกลอนก็ได้ โดยคำนวณจากจำนวนเม็ดให้ได้ปริมาณยาตามที่กำหนด อาการข้างเคียงที่อาจพบ คือ คลื่นไส้ อาเจียนเป็นน้ำใส ไม่สบายในท้อง ถ้าเป็นมากให้หยุดยา

มังคุด ใช้เปลือกผลแห้งครึ่งผล (ประมาณ 4 กรัม) ย่างไฟให้เกรียม บดเป็นผงละลายน้ำหรือฝนกับน้ำปูนใสประมาณครึ่งแก้ว ใช้น้ำดื่มทุก 2 ชั่วโมง
ที่มา http://www.samunpri.com/modules.php?...&func=tongseay
วันจันทร์ที่ 6 กันยายน พ.ศ. 2553
ข้อมูลสถานที่ท่องเที่ยว จังหวัดร้อยเอ็ด

พระมหาเจดีย์ชัยมงคล
พระมหาเจดีย์ชัยมงคล ตั้งอยู่ในบริเวณวัดผาน้ำทิพย์ บนยอดภูเขาเขียว แนวเทือกเขาภูพาน อำเภอหนองพอก ใกล้กันมีหน้าผาสูงชันซึ่งมีน้ำไหลตลอดปี ชาวบ้านเรียกว่า ผาน้ำย้อย
พระมหาเจดีย์ชัยมงคล ได้รับการออกแบบให้เป็นศิลปกรรมร่วมสมัยระหว่างภาคกลางและภาคอีสาน เป็นการผสมผสานระหว่างพระปฐมเจดีย์และพระธาตุพนม เป็นพระเจดีย์ที่ใหญ่องค์หนึ่งของประเทศไทย มีความกว้าง 101 เมตร ความยาว 101 เมตร ความสูง 101 เมตร สร้างในเนื้อที่ 101 ไร่ มีทั้งหมด 5 ชั้น
ชั้นที่ 1 เป็นห้องโถงกว้างใหญ่ โดยรอบแกะสลักประดับแบบลายไทย มีรูปปั้นหลวงปู่ศรี มหาวีโร ผู้ก่อตั้ง ชั้นที่ 2 เป็นห้องประชุมสงฆ์ขนาดใหญ่ รองรับพระภิกษุสงฆ์ได้ 2,000-3,000 รูป
ชั้นที่ 3 เป็นชั้นอุโบสถและประดิษฐานพระพุทธรูปสำคัญ และรูปปั้นพระเกจิอาจารย์ชื่อดังทั่วประเทศไทยถึง 101 องค์
ชั้นที่ 4 นอกจากจะเน้นภาพประดับสวยงามแล้ว ยังสามารถชมทัศนียภาพภูเขาเขียวได้ 4 ทิศ ชั้นที่ 5 เป็นที่บรรจุพระบรมสารีริกธาตุ
เปิดให้เข้าชมฟรีทุกวัน ระหว่างเวลา 06.00-17.30 น.
บึงเกลือ (บุ่งเกลือ) อำเภอเสลภูมิ จ.ร้อยเอ็ด
บึงเกลือ (บุ่งเกลือ) อยู่ในเขตตำบลบึงเกลือ เป็นแหล่งน้ำขนาดใหญ่ ริมบึงมีหาดทรายขาวสะอาดกว้างขวาง มีแพร้านอาหารบริการเป็นอาหารอีสาน อาหารตามสั่ง นักท่องเที่ยวนิยมมาพักผ่อนและเล่นกีฬาทางน้ำ
บึงพลาญชัย อำเภอเมือง จ.ร้อยเอ็ด
บึงพลาญชัย ตั้งอยู่บริเวณกลางเมืองร้อยเอ็ด ถือเป็นสัญลักษณ์ของจังหวัด มีลักษณะเป็นเกาะอยู่กลางบึงน้ำขนาดใหญ่ มีเนื้อที่ประมาณ 2 แสนตารางเมตร เป็นสถานที่พักผ่อนหย่อนใจ ตกแต่งเป็นสวนไม้ดอกขนาดใหญ่ มีพันธุ์ไม้ต่างๆ ร่มรื่น และในบึงน้ำมีปลาชนิดต่างๆ หลายพันธุ์มากมาย มีเรือสำหรับให้ประชาชนได้พายเล่นในบึง นอกจากนั้นยังใช้เป็นสถานที่จัดงานเทศกาลของจังหวัด รวมทั้งจัดมหรสพต่างๆ ภายในบึงพลาญชัยยังมีสิ่งก่อสร้างที่น่าสนใจคือ
ศาลเจ้าพ่อหลักเมือง เป็นที่เคารพบูชาของชาวร้อยเอ็ด
พระพุทธรูปปางลีลาขนาดใหญ่ กลางสวนดอกไม้
พานรัฐธรรมนูญ และนาฬิกาดอกไม้
ภูพลาญชัย มีลักษณะเป็นสวนสัตว์และน้ำตกจำลอง
สนามเด็กเล่น นกชนิดต่างๆ สวนสุขภาพ เป็นสวนออกกำลังกาย
ปรางค์กู่ หรือ ปราสาทหนองกู่ อำเภอธวัชบุรี จ.ร้อยเอ็ด
ปรางค์กู่ หรือ ปราสาทหนองกู่ ตั้งอยู่ที่บ้านยางกู่ ตำบลมะอี ปรางค์กู่ คือ กลุ่มอาคารที่มีลักษณะแบบเดียวกันกับอาคารที่เชื่อกันว่า คืออโรคยาศาลตามที่ปรากฏในจารึกปราสาทตาพรหมอันประกอบด้วย ปรางค์ประธาน บรรณาลัย กำแพงพร้อมซุ้มประตูและสระน้ำนอกกำแพง โดยทั่วไปนับว่าคงสภาพเดิมพอควร โดยเฉพาะปรางค์ประธานชั้นหลังคาคงเหลือ 3 ชั้น และมีฐานบัวยอดปรางค์อยู่ตอนบน อาคารอื่นๆ แม้หักพังแต่ทางวัดก็ได้จัดบริเวณให้ดูร่มรื่นสะอาดตา
นอกจากนี้ภายในกำแพงด้านหน้าทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ยังพบโบราณวัตถุอีกหลายชิ้นวางเก็บรักษาไว้ใต้อาคารไม้ ได้แก่ทับหลังหินทราย สลักเป็นภาพบุคคลนั่งบนหลังช้างหรือวัว ภายในซุ้มเรือนแก้วหน้ากาล จากการสอบถามเจ้าอาวาสวัดศรีรัตนาราม กล่าวว่าเป็นทับหลังหน้าประตูมุขของปรางค์ประธาน เสากรอบประตู 2 ชิ้น ชิ้นหนึ่งมีภาพสลักรูปฤาษีที่โคนเสา ศิวลึงค์ขนาดใหญ่พร้อมฐานที่ได้จากทุ่งนาด้านนอกออกไป และชิ้นส่วนบัวยอดปรางค์ ซึ่งถูกดัดแปลงเป็นฐานของพระสังกัจจายน์ปูนปั้น กำหนดอายุว่าสร้างราวพุทธศตวรรษที่ 18
กู่พระโกนา อำเภอสุวรรณภูมิ จ.ร้อยเอ็ด
กู่พระโกนา ตั้งอยู่ที่บ้านกู่ วัดกู่พระโกนา หมู่ 2 ตำบลสระคู ปัจจุบันมีวัดสร้างอยู่ในบริเวณเดียวกัน กู่พระโกนา ประกอบด้วย ปรางค์อิฐ 3 องค์ บนฐานศิลาทราย เรียงจากเหนือ-ใต้ ทั้งหมดหันหน้าไปทางทิศตะวันออก มีกำแพงล้อมและซุ้มประตูเข้า-ออกทั้ง 4 ด้าน ก่อด้วยหินทรายเช่นกัน ปรางค์องค์กลางถูกดัดแปลงเมื่อ พ.ศ. 2417 โดยการฉาบปูนทับและก่อขึ้นเป็นชั้นๆ แต่ละชั้นมีซุ้มพระทั้ง 4 ทิศ หน้าปรางค์องค์กลางชั้นล่าง สร้างเป็นวิหารพระพุทธบาทประดับเศียรนาค 6 เศียรของเดิมไว้ด้านหน้า ส่วนปรางค์อีก 2 องค์ ก็ได้รับการบูรณะจากทางวัดเช่นกัน แต่ไม่ถึงกับเปลี่ยนรูปทรงอย่างปรางค์องค์กลาง ปรางค์องค์ทิศเหนือทางวัดสร้างศาลาครอบ ภายในมีหน้าบันสลักเรื่องรามายณะ และทับหลังสลักภาพพระนารายณ์บรรทมสินธุ์ติดอยู่ที่เดิม คือเหนือประตูทางด้านหน้า ส่วนทับหลังประตูด้านทิศตะวันตกหล่นอยู่บนพื้น เป็นรูปนารายณ์ทรงครุฑ ปรางค์องค์ทิศใต้ยังคงมีทับหลังของเดิมเหนือประตูหลอกด้านทิศเหนือ เป็นภาพเทวดานั่งชันเข่าในซุ้มเรือนแก้วเหนือหน้ากาล นอกจากนี้ทางด้านหน้ายังมีทับหลังหล่นอยู่ที่พื้น เป็นภาพพระอิศวรประทับนั่งบนหลังโค และมีเสานางเรียงวางอยู่ด้วย สันนิษฐานว่า กู่พระโกนาเดิมจะมีสะพานนาคและทางเดิน ประดับเสานางเรียงทอดต่อไปจากซุ้มประตูหน้าไปยังสระน้ำ หรือบารายซึ่งอยู่ห่างออกไปประมาณ 300 เมตร จากรูปแบบลักษณะทางศิลปกรรมทั้งหมดของภาพสลัก และเสากรอบประตู ซึ่งเป็นศิลปะขอมที่มีอายุในราว พ.ศ. 1560-1630 (แบบบาปวน) สันนิษฐานว่ากู่พระโกนาคงจะสร้างขึ้นในราวพุทธศตวรรษที่16
วัดบูรพาภิราม อำเภอเมือง จ.ร้อยเอ็ด
วัดบูรพาภิรามอยู่ในเขตเทศบาลเมืองร้อยเอ็ด เป็นพระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดสามัญ เดิมชื่อวัดหัวรอ ต่อมาได้เปลี่ยนชื่อมาเป็น วัดบูรพาภิราม มีพระพุทธรูปปางประทานพรที่สูงที่สุดในประเทศไทยคือ พระพุทธรัตนมงคลมหามุนี หรือหลวงพ่อใหญ่ สร้างด้วยคอนกรีตเสริมเหล็ก ที่ฐานพระพุทธรูปองค์นี้ เป็นห้องพิพิธภัณฑ์จำนวนหลายห้อง ความสูงขององค์พระวัดจากพระบาทถึงยอดเกศสูงถึง 59 เมตร 20 เซนติเมตร และมีความสูงทั้งหมด 67 เมตร 85 เซนติเมตร นอกจากนี้หลวงพ่อใหญ่ ยังเป็นสัญลักษณ์ประจำจังหวัด และปรากฏอยู่ในคำขวัญของเมืองร้อยเอ็ดด้วย ด้านทิศตะวันออกของบริเวณวัดอยู่ติดกับคูรอบเมืองสมัยเก่า ซึ่งเป็นที่สร้างศาลาศาลเจ้าพ่อมเหศักดานุภาพ ซึ่งชาวเมือร้อยเอ็ดเคารพนับถือมาก
วันอาทิตย์ที่ 22 สิงหาคม พ.ศ. 2553
TELNET
TELNET
เป็นบริการที่ช่วยให้เราสามารถเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์อื่นเสมือนหนึ่งไปนั่งใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ของที่นั่น โปรแกรมที่ช่วยให้ท่านใช้บริการนี้ได้คือ โปรแกรม NCSA Telnet เมื่อเปิดโปรแกรมแล้วให้พิมพ์คำสั่ง Telnet ดังในรูปภาพข้างล่างเมื่อท่านใช้คำสั่ง Telnet แล้วให้พิมพ์ที่อยู๋ของแหล่งข้อมูลนั้น ท่านก็จะสามารถเข้าสู่ระบบข้อมูลนั้น ๆ ได้เสมือนท่านไปนั่งอยู่หน้าจอคอมพิวเตอร์ของเครื่อง ๆ นั้นเลยทีเดียว ระบบ Telnet

เทลเน็ต(Telnet) หรือ SSH
Telnet คือโปรแกรมที่ใช้ติดต่อเข้าไปทำงานในเครื่องบริการที่ติดตั้งระบบปฏิบัติการ Unix หรือ Linux มาตั้งแต่ยุคแรก แต่ในปัจจุบันการใช้โปรแกรมนี้เริ่มลดลง เพราะมีจุดบกพร่องเรื่องความปลอดภัย ถ้าผู้ไม่หวังดีนำโปรแกรมประเภท Sniffer ไปประมวลผลในเครือข่าย จะสามารถเห็นทุกตัวอักษรที่พิมพ์ และส่งออกไปจากคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่อง ผู้เขียนทดสอบแล้วเห็นข้อมูลมากมายที่ส่งจากคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่อง แม้แต่รหัสผ่าน หรือเนื้อความในจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ วิธีแก้ไขคือใช้โปรแกรม SSH (Secure Shell) ซึ่งเข้ารหัสข้อมูลก่อนส่ง ทำให้ผู้ลักลอบไม่สามารถเห็นข้อมูลที่แท้จริง ปัจจุบันระบบปฏิบัติการ Unix หรือ Linux จะมีบริการ SSH เสมอ แต่เครื่องของผู้ใช้ที่ต้องการติดต่อเครื่องบริการ จำเป็นต้องมีโปรแกรม SSH client ติดตั้งไว้
บริการนี้คือการอนุญาตให้ผู้ใช้ติดต่อเข้าไปยังเครื่องบริการ ได้เสมือนนั่งอยู่หน้าเครื่อง เช่นตรวจสอบผู้ใช้ แก้ปัญหาบางประการ อ่าน e-mail ด้วย Pine หรือใช้เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ต้นทางเพื่อบุกรุก หรือโจมตีเครื่องอื่นในอินเทอร์เน็ตต่อไป แต่เกิดปัญหาความปลอดภัยของข้อมูล ที่ถูกส่งจากเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้ telnet จึงมีการพัฒนา SSH ที่ทำงานได้คล้าย telnet แต่มีการเข้ารหัสก่อนส่งข้อมูล ทำให้ปลอดภัยจากผู้ที่ใช้โปรแกรมตรวจจับประเภท sniffer เพื่อดักจับข้อมูล จากการทดสอบ พบว่าผู้ให้บริการ e-mail ส่วนหนึ่งในปัจจุบัน ยังไม่ป้องกันปัญหานี้ ผู้ให้บริการที่ป้องกันแล้วเช่น Hotmail.com หรือ Yahoo.com โดยมีตัวเลือกสำหรับความปลอดภัยที่สูงขึ้น
ที่มา : http://www.thaiall.com/internet/internet03.htm
ที่มา : http://www.thaiwbi.com/course/internet/1_3.htm
เป็นบริการที่ช่วยให้เราสามารถเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์อื่นเสมือนหนึ่งไปนั่งใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ของที่นั่น โปรแกรมที่ช่วยให้ท่านใช้บริการนี้ได้คือ โปรแกรม NCSA Telnet เมื่อเปิดโปรแกรมแล้วให้พิมพ์คำสั่ง Telnet ดังในรูปภาพข้างล่างเมื่อท่านใช้คำสั่ง Telnet แล้วให้พิมพ์ที่อยู๋ของแหล่งข้อมูลนั้น ท่านก็จะสามารถเข้าสู่ระบบข้อมูลนั้น ๆ ได้เสมือนท่านไปนั่งอยู่หน้าจอคอมพิวเตอร์ของเครื่อง ๆ นั้นเลยทีเดียว ระบบ Telnet

เทลเน็ต(Telnet) หรือ SSH
Telnet คือโปรแกรมที่ใช้ติดต่อเข้าไปทำงานในเครื่องบริการที่ติดตั้งระบบปฏิบัติการ Unix หรือ Linux มาตั้งแต่ยุคแรก แต่ในปัจจุบันการใช้โปรแกรมนี้เริ่มลดลง เพราะมีจุดบกพร่องเรื่องความปลอดภัย ถ้าผู้ไม่หวังดีนำโปรแกรมประเภท Sniffer ไปประมวลผลในเครือข่าย จะสามารถเห็นทุกตัวอักษรที่พิมพ์ และส่งออกไปจากคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่อง ผู้เขียนทดสอบแล้วเห็นข้อมูลมากมายที่ส่งจากคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่อง แม้แต่รหัสผ่าน หรือเนื้อความในจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ วิธีแก้ไขคือใช้โปรแกรม SSH (Secure Shell) ซึ่งเข้ารหัสข้อมูลก่อนส่ง ทำให้ผู้ลักลอบไม่สามารถเห็นข้อมูลที่แท้จริง ปัจจุบันระบบปฏิบัติการ Unix หรือ Linux จะมีบริการ SSH เสมอ แต่เครื่องของผู้ใช้ที่ต้องการติดต่อเครื่องบริการ จำเป็นต้องมีโปรแกรม SSH client ติดตั้งไว้
บริการนี้คือการอนุญาตให้ผู้ใช้ติดต่อเข้าไปยังเครื่องบริการ ได้เสมือนนั่งอยู่หน้าเครื่อง เช่นตรวจสอบผู้ใช้ แก้ปัญหาบางประการ อ่าน e-mail ด้วย Pine หรือใช้เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ต้นทางเพื่อบุกรุก หรือโจมตีเครื่องอื่นในอินเทอร์เน็ตต่อไป แต่เกิดปัญหาความปลอดภัยของข้อมูล ที่ถูกส่งจากเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้ telnet จึงมีการพัฒนา SSH ที่ทำงานได้คล้าย telnet แต่มีการเข้ารหัสก่อนส่งข้อมูล ทำให้ปลอดภัยจากผู้ที่ใช้โปรแกรมตรวจจับประเภท sniffer เพื่อดักจับข้อมูล จากการทดสอบ พบว่าผู้ให้บริการ e-mail ส่วนหนึ่งในปัจจุบัน ยังไม่ป้องกันปัญหานี้ ผู้ให้บริการที่ป้องกันแล้วเช่น Hotmail.com หรือ Yahoo.com โดยมีตัวเลือกสำหรับความปลอดภัยที่สูงขึ้น
ที่มา : http://www.thaiall.com/internet/internet03.htm
ที่มา : http://www.thaiwbi.com/course/internet/1_3.htm
TELNET เพื่อติดต่อกับ HOST ต่าง ๆ
TELNET คือ เป็นบริการสำหรับการที่จะให้ผู้ใช้บริการสามารถที่จะเปลี่ยนเครื่องที่ทำงานอยู่ไปใช้เครื่องอื่นได้โดยผู้ใช้ต้องมีชื่ออยู่ในบัญชีในเครื่องที่เข้าไปใช้ ทั้งนี้ก็เพื่อที่จะเข้าไปใช้ทรัพยากรต่าง เช่น ข้อมูล เนื้อที่ฮาร์ดดิสค์สำหรับเก็บข้อมูล หรือบริการอื่นใด ก็ได้ ที่เครื่องตนเองใช้อยู่ไม่มี
หลังจากที่ผู้ใช้ติดต่อเข้าในเครื่องนนทรีได้แล้วสามารถทำการติดต่อขอใช้เครื่องระยะไกล (Remote login) ได้ โดยการใช้คำสั่ง telnet
รูปแบบคำสั่ง
$ telnet hostname.domain.name
ตัวอย่าง
$telnet std.cpc.ku.ac.th
หลังจากที่ผู้ใช้ติดต่อเข้าในเครื่องนนทรีได้แล้วสามารถทำการติดต่อขอใช้เครื่องระยะไกล (Remote login) ได้ โดยการใช้คำสั่ง telnet
รูปแบบคำสั่ง
$ telnet hostname.domain.name
ตัวอย่าง
$telnet std.cpc.ku.ac.th
วันจันทร์ที่ 16 สิงหาคม พ.ศ. 2553
ระบบเครือข่าย
ความหมายของระบบเครือข่าย
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ( Computer Network ) หมายถึง การต่อเชื่อมคอมพิวเตอร์ ตั้งแต่ 2 เครื่องขึ้นไปเข้าด้วยกันด้วยสายเคเบิลหรือสื่ออื่นๆ ทำให้คอมพิวเตอร์สามารถรับส่งข้อมูลแก่กันและกันได้
เครือข่ายคอมพิวเตอร์อย่างง่าย
จากภาพเป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์อย่างง่ายในที่ทำงานเดียวกัน หรือพื้นที่ใกล้ๆ กัน คอมพิวเตอร์ทุกเครื่อง เชื่อมต่อถึงกันด้วยสายเคเบิล และต่อเข้ากับเครื่องพิมพ์ ดังนั้น เราสามารถที่จะส่งข้อมูลไปพิมพ์ออกทางเครื่องพิมพ์ จากเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องใดก็ได้ แต่ถ้าเป็นการเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์จากเครื่องที่อยู่ห่างไกลกันมากๆ เช่นจากจังหวัดหนึ่งไปอีกจังหวัดหนึ่ง เช่น จากกรุงเทพฯไปจังหวัดนครราชสีมา อุปกรณ์ที่ใช้เชื่อมโยงกันคือเครือข่ายโทรศัพท์หรือการส่งข้อมูลตามสายโทรศัพท์นั่นเอง
องค์ประกอบของการส่งข้อมูล จากคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งไปยังอีกเครื่องหนึ่ง จะต้องมองค์ประกอบ 3 ประการ คือ ผู้ส่ง ( Sender ) ผู้รับ (Receiver ) และ ตัวกลางในการส่ง ( Transmission Medium) ที่นำข้อมูลจากผู้ส่งไปยังผู้รับ
ที่มา : http://school.obec.go.th/ckn/network1/new_page_3.htm
รูปแบบของเครือข่าย
ประเภทระบบเครือข่าย
1. LAN (Local Area Network)ระบบเครื่องข่ายท้องถิ่น เป็นเน็ตเวิร์กในระยะทางไม่เกิน 10 กิโลเมตร ไม่ต้องใช้โครงข่ายการสื่อสารขององค์การโทรศัพท์ คือจะเป็นระบบเครือข่ายที่อยู่ภายในอาคารเดียวกันหรือต่างอาคาร ในระยะใกล้ๆ
2. MAN (Metropolitan Area Network)ระบบเครือข่ายเมือง เป็นเน็ตเวิร์กที่จะต้องใช้โครงข่ายการสื่อสารขององค์การโทรศัพท์ หรือการสื่อสารแห่งประเทศไทย เป็นการติดต่อกันในเมือง เช่น เครื่องเวิร์กสเตชั่นอยู่ที่สุขุมวิท มีการติดต่อสื่อสารกับเครื่องเวิร์กสเตชั่นที่บางรัก
3. WAN (Wide Area Network)ระบบเครือข่ายกว้างไกล หรือเรียกได้ว่าเป็น World Wide ของระบบเน็ตเวิร์ก โดยจะเป็นการสื่อสารในระดับประเทศ ข้ามทวีปหรือทั่วโลก จะต้องใช้มีเดีย(Media) ในการสื่อสารขององค์การโทรศัพท์ หรือการสื่อสารแห่งประเทศไทย (คู่สายโทรศัพท์ dial-up / คู่สายเช่า Leased line / ISDN) (lntegrated Service Digital Network สามารถส่งได้ทั้งข้อมูล เสียง และภาพในเวลาเดียวกัน)
ประเภทของระบบเครือข่าย
Peer To Peer เป็นระบบที่เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องบนระบบเครือข่ายมีฐานเท่าเทียมกัน คือทุกเครื่องสามารถจะใช้ไฟล์ในเครื่องอื่นได้ และสามารถให้เครื่องอื่นมาใช้ไฟล์ของตนเองได้เช่นกัน ระบบ Peer To Peer มีการทำงานแบบดิสทริบิวท์(Distributed System) โดยจะกระจายทรัพยากรต่างๆ ไปสู่เวิร์กสเตชั่นอื่นๆ แต่จะมีปัญหาเรื่องการรักษาความปลอดภัย เนื่องจากข้อมูลที่เป้นความลับจะถูกส่งออกไปสู่คอมพิวเตอร์อื่นเช่นกันโปรแกรมที่ทำงานแบบ Peer To Peer คือ Windows for Workgroup และ Personal Netware
Client / Server เป็นระบบการทำงานแบบ Distributed Processing หรือการประมวลผลแบบกระจาย โดยจะแบ่งการประมวลผลระหว่างเครื่องเซิร์ฟเวอร์กับเครื่องไคลเอ็นต์ แทนที่แอพพลิเคชั่นจะทำงานอยู่เฉพาะบนเครื่องเซิร์ฟเวอร์ ก็แบ่งการคำนวณของโปรแกรมแอพพลิเคชั่น มาทำงานบนเครื่องไคลเอ็นต์ด้วย และเมื่อใดที่เครื่องไคลเอ็นต์ต้องการผลลัพธ์ของข้อมูลบางส่วน จะมีการเรียกใช้ไปยัง เครื่องเซิร์ฟเวอร์ให้นำเฉพาะข้อมูลบางส่วนเท่านั้นส่งกลับ มาให้เครื่องไคลเอ็นต์เพื่อทำการคำนวณข้อมูลนั้นต่อไป
รูปแบบการเชื่อมต่อของระบบเครือข่าย LAN Topology
ระบบ Bus การเชื่อมต่อแบบบัสจะมีสายหลัก 1 เส้น เครื่องคอมพิวเตอร์ทั้งเซิร์ฟเวอร์ และไคลเอ็นต์ทุกเครื่องจะต้องเชื่อมต่อสายเคเบิ้ลหลักเส้นนี้ โดยเครื่องคอมพิวเตอร์จะถูกมองเป็น Node เมื่อเครื่องไคลเอ็นต์เครื่องที่หนึ่ง (Node A) ต้องการส่งข้อมูลให้กับเครื่องที่สอง (Node C) จะต้องส่งข้อมูล และแอดเดรสของ Node C ลงไปบนบัสสายเคเบิ้ลนี้ เมื่อเครื่องที่ Node C ได้รับข้อมูลแล้วจะนำข้อมูล ไปทำงานต่อทันที
ข้อดี ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการวางสายเคเบิลมากนัก สามารถขยายระบบได้ง่าย เสียค่าใช้จ่ายน้อย
ข้อเสีย อาจเกิดข้อผิดพลาดง่าย เนื่องจากทุกเครื่องคอมพิวเตอร์ต่อยู่บนสายสัญญาณเพียงเส้นเดียว ดังนั้นหากมีการขาดที่ตำแหน่งใดตำแหน่งหนึ่ง ก็จะทำให้เครื่องอื่นส่วนใหญ่หรือทั้งหมดในระบบไม่สามารถใช้งานได้ตามไปด้วย การตรวจหาโหนดเสีย ทำได้ยากเนื่องจากขณะใดขณะหนึ่งจะมีคอมพิวเตอร์เพียงเครื่องเดียวเท่านั้นที่สามารถส่งข้อความออกมาบนสายสัญญาณ ดังนั้นถ้ามีเครื่องคอมพิวเตอร์จำนวนมากๆ อาจทำให้เกิดการคับคั่งของเน็ตเวิร์ก ซึ่งจะทำให้ระบบช้าลงได้
แบบ Ring การเชื่อมต่อแบบวงแหวน เป็นการเชื่อมต่อจากเครื่องหนึ่งไปยังอีกเครื่องหนึ่ง จนครบวงจร ในการส่งข้อมูลจะส่งออกที่สายสัญญาณวงแหวน โดยจะเป็นการส่งผ่านจากเครื่องหนึ่ง ไปสู่เครื่องหนึ่งจนกว่าจะถึงเครื่องปลายทาง ปัญหาของโครงสร้างแบบนี้คือ ถ้าหากมีสายขาดในส่วนใดจะทำ ให้ไม่สามารถส่งข้อมูลได้ ระบบ Ring มีการใช้งานบนเครื่องตระกูล IBM กันมาก เป็นเครื่องข่าย Token Ring ซึ่งจะใช้รับส่งข้อมูลระหว่างเครื่องมินิหรือเมนเฟรมของ IBM กับเครื่องลูกข่ายบนระบบ
การเชื่อมต่อแบบวงแหวน ถูกออกแบบให้ใช้ Media Access Units (MAU) ต่อรวมกันแบบเรียงลำดับเป็นวงแหวน แล้วจึงต่อ คอมพิวเตอร์ (PC) ที่เป็น Workstation หรือ Server เข้ากับ MAU ใน MAU 1 ตัวจะสามารถต่อออกไปได้ถึง 8 สถานี เมื่อสถานีถัดไปนั้นรับรู้ว่าต้องรับข้อมูล แล้วมันจึงส่งข้อมูลกลับ เป็นการตอบรับ เมื่อสถานีที่จะส่งข้อมูลได้รัยสัญญาณตอบรับ แล้วมันจึงส่งข้อมูลครั้งแรก แล้วมันจะลบข้อมูลออกจากระบบ เพื่อให้ได้ใช้ข้อมูลอื่นๆ ต่อไป ดังนั้นทุกสถานีบน โทโปโลยี วงแหวนจะได้ทำงานทั้งหมดซึ่งจะคอยเป็นผู้รับและผู้ส่งแล้วยังเป็นรีพีทเตอร์ในตัวอีกด้วย ข้อมูลที่ผ่านไปแต่ละสถานี นั้น ข้อมูลที่เป็นตำแหน่งที่อยู่ตรงกับ สถานีใด สถานีนั้นจะรับข้อมูลเก็บไว้ แต่มันจะไม่ลบข้อมูลออกจากระบบ มันยังคงส่งข้อมูลต่อไป ดังนั้นผู้ส่งข้อมูลครั้งแรกเท่านั้นที่จะเป็นผู้ลบข้อมูลออกจากระบบ ครั้นเมื่อสถานีส่ง TOKEN มาถามสถานีถัดไปแล้วแต่กลับไม่ได้รับคำตอบ สถานีส่ง TOKEN จะทวนซ้ำข้อมูลเป็นครั้งที่สอง ถ้ายังคงไม่ได้รับคำตอบ จึงส่งข้อมูลออกไปได้ เหตุการณ์ดังกล่าวนี้ เป็นอีกแนวทางหนึ่งในการแก้ปัญหาที่ไม่ให้ระบบหยุดชะงักการทำงานลงของระบบ เนื่องจากสถานีหนึ่งเกิดการเสียหาย หรือชำรุด ระบบจึงยังคงสามทำงานต่อไปได้
ข้อดี ใช้เคเบิลและเนื้อที่ในการติดตั้งน้อย คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องในเน็ตเวิร์กมีโอกาสที่จะส่งข้อมูลได้อย่างทัดเทียมกัน
ข้อเสีย หากโหลดใดโหลดหนึ่งเกิดปัญหาขึ้นจะค้นหาได้ยากว่าต้นเหตุอยู่ที่ไหน และวงแหวนจะขาดออก
แบบ Star(แบบดาว) การเชื่อมต่อแบบสตาร์นี้จะใช้อุปกรณ์ Hub เป็นศูนย์กลางในการเชื่อมต่อ โดยที่ทุกเครื่องจะต้องผ่าน Hub สายเคเบิ้ลที่ใช้ส่วนมากจะเป็น UTP และ Fiber Optic ในการส่งข้อมูล Hub จะเป็นเสมือนตัวทวนสัญญาณ (Repeater) ปัจจุบันมีการใช้ Switch เป็นอุปกรณ์ในการเชื่อมต่อซึ่งมีประสิทธิภาพการทำงานสูงกว่า แบบ Starจะเป็นลักษณะของการต่อเครือข่ายที่ Work station แต่ละตัวต่อรวมเข้าสู่ศูนย์กลางสวิตซ์ เพื่อสลับตำแหน่งของเส้นทางของข้อมูลใด ๆ ในระบบ ดังนั้นใน โทโปโลยี แบบดาว คอมพิวเตอร์จะติดต่อกันได้ใน 1 ครั้ง ต่อ 1 คู่สถานีเท่านั้น เมื่อสถานีใดต้องการส่งข้องมูลมันจะส่งข้อมูลไปยังศูนย์กลางสวิทซ์ก่อน เพื่อบอกให้ศูนย์กลาง สวิตซ์มันสลับตำแหน่งของคู่สถานีไปยังสถานีที่ต้องการติดต่อด้วย ดังนั้นข้อมูลจึงไม่เกิดการชนกันเอง ทำให้การสื่อสารได้รวดเร็วเมื่อสถานีใดสถานีหนึ่งเสีย ทั้งระบบจึงยังคงใช้งานได้ ในการค้นหาข้อบกพร่องจุดเสียต่างๆ จึงหาได้ง่ายตามไปด้วย แต่ก็มีข้อเสียที่ว่าต้องใช้งบประมาณสูงในการติดตั้งครั้งแรก
ข้อดี ติดตั้งและดูแลง่าย แม้ว่าสายที่เชื่อมต่อไปยังบางโหลดจะขาด โหลดที่เหลืออยู่ก็ยังจะสามารถทำงานได้ ทำให้ระบบเน็ตเวิร์กยังคงสามารถทำงานได้เป็นปกติการมี Central node อยู่ตรงกลางเป็นตัวเชื่อมระบบ ถ้าระบบเกิดทำงานบกพร่องเสียหาย ทำให้เรารู้ได้ทันทีว่าจะไปแก้ปัญหาที่ใด
ข้อเสีย เสียค่าใช้จ่ายมาก ทั้งในด้านของเครื่องที่จะใช้เป็น central node และค่าใช้จ่ายในการติดตั้งสายเคเบิลในสถานีงาน การขยายระบบให้ใหญ่ขึ้นทำได้ยาก เพราะการขยายแต่ละครั้งจะต้องเกี่ยวเนื่องกับโหลดอื่นๆ ทั้งระบบ เครื่องคอมพิวเตอร์ศูนย์กลางมีราคาแพง แบบ วงแหวน (Ring Network)
แบบ Hybrid เป็นการเชื่อมต่อที่ผสมผสานเครือข่ายย่อยๆ หลายส่วนมารวมเข้าด้วยกัน เช่น นำเอาเครือข่ายระบบ Bus, ระบบ Ring และ ระบบ Star มาเชื่อมต่อเข้าด้วยกัน เหมาะสำหรับบางหน่วยงานที่มีเครือข่ายเก่าและใหม่ให้สามารถทำงานร่วมกันได้ ซึ่งระบบ Hybrid Network นี้จะมีโครงสร้างแบบ Hierarchical หรือ Tree ที่มีลำดับชั้นในการทำงาน
เครือข่ายแบบไร้สาย ( Wireless LAN) อีกเครือข่ายที่ใช้เป็นระบบแลน (LAN) ที่ไม่ได้ใช้สายเคเบิลในการเชื่อมต่อ นั่นคือระบบเครือข่ายแบบไร้สาย ทำงานโดยอาศัยคลื่นวิทยุ ในการรับส่งข้อมูล ซึ่งมีประโยชน์ในเรื่องของการไม่ต้องใช้สายเคเบิล เหมาะกับการใช้งานที่ไม่สะดวกในการใช้สายเคเบิล โดยไม่ต้องเจาะผนังหรือเพดานเพื่อวางสาย เพราะคลื่นวิทยุมีคุณสมบัติในการทะลุทะลวงสิ่งกีดขวางอย่าง กำแพง หรือพนังห้องได้ดี แต่ก็ต้องอยู่ในระยะทำการ หากเคลื่อนย้ายคอมพิวเตอร์ไปไกลจากรัศมีก็จะขาดการติดต่อได้ การใช้เครือข่ายแบบไร้สายนี้ สามารถใช้ได้กับคอมพิวเตอร์พีซี และโน๊ตบุ๊ก และต้องใช้การ์ดแลนแบบไร้สายมาติดตั้ง รวมถึงอุปกรณ์ที่เรียกว่า Access Point ซึ่งเป็นอุปกรณ์จ่ายสัญญาณสำหรับระบบเครือข่ายไร้สาย มีหน้าที่รับส่งข้อมูลกับการ์ดแลนแบบไร้สาย
เครือข่ายแบบตาข่าย (Mesh Network)ใช้ในระบบเครือข่ายบริเวณกว้าง (WAN) ลักษณะการสื่อสาร จะมีการต่อสายหรือทางเดินของข้อมูลระหว่างคอมพิวเตอร์หรือโหนดไปยังโหนดอื่น ๆ ทุกตัว มีทางเดินข้อมูลหลายเส้นทาง และปลอดภัยจากเหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้นจากการ ล้มเหลวของระบบ ค่าใช้จ่ายมากกว่าระบบเครือข่ายประเภทอื่น ๆ
ที่มา : http://home.kku.ac.th/regis/student/kk/page3.html
TCP/IP กับเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
TCP/IPTransmission Control Protocol/ Internet Protocol (TCP/IP) เป็นโปรโตคอลที่ถูกนำมาใช้งานกับระบบเครือข่ายภายใน (LAN) หรือ ระบบเครือข่ายขนาดใหญ่ (WAN) จนถึงระบบเครือข่ายที่ไม่มีที่สิ้นสุด (INTERNET) ซึ่งหากเข้าใจหลักการทำงานของโปรโตคอลชนิดนี้แล้ว จะทำให้จินตนาการได้ว่าเกิดอะไรขึ้น บนระบบเครือข่าย และเหตุผลที่ทำต้องติดตั้งในแบบเฉพาะแต่ละระบบการใช้งานโดยหลักการแล้ว TCP/IP จะทำหน้าที่เป็นสื่อกลางในการรับ-ส่ง ข้อมูลใน Internet ซึ่งจะเปรียบเทียบให้เห็นชัดเจน โดยขอยกตัวอย่างเครือข่าย Internet กับเครือข่ายของการรถไฟบ้านเรา ที่ต้องอาศัยเส้นทางวิ่งบนรางรถไฟที่วางไว้ในเส้นทางต่าง ๆ เทียบได้กับเครือข่าย Computer ใน Internet ส่วนการขนส่งสินค้าไปยังจุดหมายปลายทางต่าง ๆ นั้น ต้องอาศัยขบวนรถไฟ ที่เปรียบได้กับ TCP/IP โดยสินค้าที่บรรทุกไปนั้นก็คือ ข้อมูลนั่นเอง หากข้อมูลที่ต้องการส่งมีมาก ก็ต้องแบ่งข้อมูลออกเป็นส่วนๆ ใส่ไว้ในแต่ละโบกี้ ซึ่ง TCP/IP ก็ทำงานในลักษณะเดียวกัน โดยแบ่งข้อมูลออกเป็นส่วนย่อย เรียกว่า Packet แยกกันส่งไปยังจุดหมายปลายทาง ในขบวนรถไฟไม่ได้มีแต่เพียงเฉพาะสินค้าของเราเท่านั้นแต่ยังมีสินค้าของคนอื่นอีก เช่นเดียวกันกับ TCP/IP ที่จะมีข้อมูลของคนอื่นถูกส่งไปด้วย สำหรับการอ้างอิงตำแหน่งของแต่ละอุปกรณ์ในเครือข่ายของ TCP/IP จะใช้หมายเลขอ้างอิงที่เรียกว่า IP Address เปรียบได้กับบ้านเลขที่ของบ้านแต่ละหลัง ที่จะต้องไม่ซ้ำกันการกำหนดจะต้องเป็นไปตามรูปแบบมาตรฐานที่ได้กำหนดไว้ ไม่สามารถกำหนดได้ตามใจชอบ ซึ่งผู้ใช้จะเห็นเป็นตัวเลข 4 ชุด คั่นด้วยจุด เช่น 193.167.0.2 ตัวเลขแต่ละชุด เครื่องคอมพิวเตอร์จะใช้เนื้อที่ 8 บิท หรือ 1 ไบต์ ในการเก็บ ดังนั้น IP Address จึงต้องการเนื้อที่ในการเก็บข้อมูลทั้งหมด 4 ไบต์ โดยจะถูกแยกเป็น ๒ ส่วน ได้แก่ ส่วนของหมายเลขเครือข่าย และส่วนของหมายเลขเครื่อง นอกจากนี้ IP Address ยังถูกแบ่งออกตามขนาดของหมายเลขเครือข่ายและหมายเลขเครื่องเป็น 5 กลุ่มคือ Class A, B, C, D และ E มีส่วนที่เกี่ยวพันกับ TCP/IP อีก 2 ส่วน คือ Network Mask และ Subnet Mask โดยตัว Network Mask จะเป็นส่วนที่บอกว่า IP Address ที่เราใช้นั้นมีกี่ไบต์ ที่เป็นส่วนของหมายเลขเครือข่าย ดังนั้นหากเราต้องการใช้บิทใดเป็นหมายเลขเครือข่ายก็ให้กำหนดค่าเป็น 1 หรือเรียกว่า Mask ส่วนบิทที่เหลือก็ให้กำหนดค่าเป็น 0 ซึ่งจะใช้ในส่วนของหมายเลขเครื่องนั่นเอง เช่น Network Mask 255.255.255.0 จะใช้ 3 ไบต์ แรก เป็นหมายเลขเครือข่าย ส่วน Subnet Mask จะใช้สำหรับกำหนดหมายเลขเครือข่ายเพิ่มเติม โดยการยืมบางส่วนที่ใช้ในการกำหนดหมายเลขเครื่อง มาใช้งาน เช่น ขอยืม 1 บิท แรก ของ ไบต์ ที่สาม เป็นต้นTCP/IP เป็นพวก layered protocol ซึ่งหมายถึงการที่ layer หนึ่งถูกสร้างขึ้นบนอีก layer หนึ่งโดยมีการเพิ่มฟังก์ชันใหม่ๆ ให้กับ layer นั้น ๆ เริ่มจาก layer ต่ำสุด จะทำหน้าที่รับ-ส่งข้อมูล ผ่านอุปกรณ์ ฮาร์ดแวร์ ของระบบเครือข่าย ส่วน layer บนสุดถูกออกแบบให้ทำหน้าที่แลกเปลี่ยน files รวมถึงการรับส่งอีเมล์ สำหรับ layer ที่อยู่ระหว่าง layer ทั้งสองนั้นจะทำหน้าที่นำข้อมูลไปส่งยังปลายทางได้อย่างถูกต้องและแน่นอน ซึ่ง TCP/IP จัดเป็นพวก four-layer protocol ดังนี้
Application layer: FTP และ SMTP
Transport layer: TCP
Network layer: IP
Link layer: IEEE 802.x, PPP, and SLIP
จากตัวอย่าง Layer ต่ำสุดคือ Link layer ซึ่งจะถูกสร้างอยู่ใน network adapter และ driver programme ที่ใช้ควบคุมการทำงานของ network adapter ถัดมาคือ Network layer และโปรโตคอลที่สำคัญที่สุดสำหรับ layer นี้คือ IP (Internet Protocol) ซึ่งมีหน้าที่ส่งกลุ่มข้อมูล (packets or datagrams) จากจุดจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่งโดยใช้ link layer เป็นตัวกลางในการนำส่งทั้ง link layer และnetwork layer จะมีหน้าที่เกี่ยวข้องกันในเรื่องการรับส่งข้อมูลจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่ง สำหรับ IP จัดอยู่ในพวก connectionless โปรโตคอล เปรียบได้กับคนที่ทำงานเกี่ยวกับการจัดประเภทหรือค้นหาจดหมาย โดยไม่สนใจว่าจดหมายนี้เป็นของใคร แต่สนใจแค่เพียงการนำจดหมายเหล่านั้นไปส่งไปยังจุดหมายปลายทางตามเส้นทางที่ถูกกำหนดไว้เท่านั้น ตลอดจนไม่ใส่ใจว่าข้อมูล (packet) ได้ถูกส่งไปถึงจุดหมายปลายทางหรือไม่ หรือข้อมูลเหล่านั้นไปถึงที่หมายในลำดับที่ถูกต้องหรือไม่ เพราะว่าใน IP packet ไม่มีข้อมูลที่บ่งบอกถึงลำดับก่อนหลังของข้อมูลที่ถูกส่งไป ผลที่ตามมาก็คือ IP จะไม่สามารถบอกได้ว่าข้อมูล (packets) ที่ถูกส่งไปมีการสูญหายหรือลำดับความถูกต้องของข้อมูลที่ได้รับที่เครื่องรับปลายทาง ดังนั้นจึงทำให้ IP เป็นโปรโตคอลที่ไม่มีความน่าเชื่อถือในการติดต่อสื่อสารเท่าที่ควร เมื่อนำมาใช้เพียงโปรโตคอลเดี่ยว ๆ ส่วนกระบวนการที่เป็นตัวทำให้การสื่อสารน่าเชื่อถือขึ้นนั้นจะอยู่ใน layer ชั้นที่อยู่สูงขึ้นไปอีก Layer ถัดมาได้แก่ Transport layer โดยส่วนประกอบสำคัญที่อยู่ใน layer นี้คือ TCP (Transmission Control Protocol) ซึ่งเป็นโปรโตคอลที่นิยมใช้ทั่วไปในโปรแกรมอินเตอร์เน็ตต่าง ๆ เช่น Telnet, FTP และ HTTP สำหรับ TCP จัดอยู่ในพวก connection-oriented protocol กล่าวคือ เมื่อไหร่ก็ตามที่มีการเชื่อมโยงแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างคอมพิวเตอร์ ต้องมีการสร้างการเชื่อมต่อขึ้นมาก่อนทุกครั้ง หลังจากนั้นจึงเริ่มส่งหรือรับข้อมูลได้ เปรียบได้กับการโทรศัพท์ ซึ่งด้านผู้เรียกจะหมุนหมายเลขโทรศัพท์ไปยังด้านปลายทาง จนได้รับสัญญาณตอบรับ จึงจะเริ่มสนทนาได้ อนึ่ง TCP จัดเป็นโปรโตคอลที่มีความน่าเชื่อถือต่อการนำมาใช้งาน เนื่องจาก หากแอพพลิเคชั่นใดที่นำโปรโตคอล ชนิดนี้มาใช้ จะรับรู้ได้ว่า ข้อมูลที่ถูกส่งออกไปยังที่หมายปลายทางจะเป็นข้อมูลที่มีความถูกต้องและแน่นอน เนื่องจากภายใน TCP นั้นมีฟังก์ชันการตรวจสอบข้อมูลอยู่ เมื่อไหร่ก็ตามที่ข้อมูลได้ส่งไปถึงด้านปลายทางแล้ว TCP จะส่งการตอบรับ (acknowledgement) กลับไปยังเครื่องส่ง ดังนั้น หากเกิดกรณีที่เครื่องส่งยังไม่ได้รับการตอบรับจากเครื่องรับปลายทางในเวลาช่วงระยะเวลาหนึ่ง เครื่องส่งจะเริ่มต้นส่งข้อมูลใหม่อีกครั้งหนึ่ง นอกจากนี้ TCP ยังมีกลไกภายในที่จะจัดการกับลำดับข้อมูลที่ถูกส่งมาจากเครื่องส่ง ให้อยู่ในลำดับที่ถูกต้อง รวมถึงกลไกที่เรียกว่า Flow control ที่สามารถป้องกันการส่งข้อมูลจำนวนมากมายังเครื่องรับปลายทาง โดยทั่วไปแล้ว TCP จะส่งข้อมูลในรูปของ block หรือ segment โดยใช้ IP ซึ่งขนาดของ segment จะถูกกำหนดโดยโปรโตคอล TCP เอง และแต่ละ segment จะประกอบไปด้วยข้อมูลขนาด 20 bytes Layer สุดท้ายที่อยู่ด้านบนสุดคือ Application layer ส่วนประกอบที่สำคัญของ layer นี้ได้แก่ File Transfer Protocol (FTP) และ Simple Mail Transfer Protocol (SMTP) แอปพลิเคชั่นเหล่านี้เมื่อถูกเรียกใช้งานโดยผู้ใช้จะเรียกใช้ TCP/IP ในทันที ดังนั้นจะเห็นได้ว่า TCP/IP โปรโตคอลเป็นโปรโตคอลที่มีความน่าเชื่อถือในการใช้งานในระบบเครือข่าย ไม่ว่าขนาดเล็กหรือใหญ่ นอกจากนี้ ยังมีความยืดหยุ่นในการใช้งานร่วมกับโปรโตคอลอื่น ๆ เช่น NETBIOS ซึ่งในอนาคตจะมีการนำโปรโตคอลชนิดนี้มาปรับปรุงเพื่อให้ใช้กับแอปพลิเคชั่นต่าง ๆ ที่จะถูกพัฒนาขึ้นมาใช้ใหม่ รวมถึงการเพิ่มระบบความปลอดภัยในการนำโปรโตคอลชนิดนี้มาใช้งานในอนาคตอีกด้วย
ที่มา : http://www.oocities.com/iactart/TCPIP.htm
IP Address
IP Address คือหมายเลขประจำเครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งประกอบด้วยตัวเลข 4 ชุด มีเครื่องหมายจุดขั้นระหว่างชุด เช่น 192.168.100.1 หรือ 172.16.10.1 เป็นต้นมาตรฐานของ IP Address ปัจจุบันเป็นมาตรฐาน version 4 หรือที่เรียกกันสั้น ๆ ว่า IPv4 ซึ่งกำหนดให้ IP Address มีทั้งหมด 32 bit หรือ 4 byte แต่ล่ะ byte จะถูกคั่นด้วยจุด (.) ภายในหมายเลขที่เราเห็นยังถูกแบ่งออกเป็น 2 ส่วนดังนี้
1. Network Address หรือ Subnet Address
2. Host Address
บนเครื่อง computer ที่ใช้ TCP/IP Protocol จะมีหมายเลข IP Address กำกับอยู่ address นี้ เป็นอยู่ใน Layer 3 ของ OSI model ซึ่งสามารถเปลี่ยนแปลงได้ตลอดเวลา (Logical address) และบนเครื่อง computerไม่ว่าจะใช้ Protocol ใด ๆ ก็ตามจะต้องมีหมายเลข ที่เรียกว่า MAC Address ประจำอยู่ที่ Network card เสมอ MAC Address นี้เป็น Hardware Address ที่เปลี่ยนแปลงไม่ได้ เว้นแต่จะเปลี่ยน Network card
Class ของแต่ละ IP Address
ทำไมต้องแบ่งเป็น Classต่าง ๆ เพื่ออะไร
เพื่อความเป็นระเบียบไงครับ ทางองค์กรกลางที่ดูแลเรื่องของ IP Address จึงได้มีการจัด Class หรือ หมวดหมู่ของ IP Address ไว้ทั้งหมด 5 Class โดย Class ของ Address จะเป็นตัวกำหนดว่า Bit ใดบ้างใน หมายเลข IP Addressที่ต้องถูกใช้เพื่อเป็น Network Address และ Bit ใดบ้าง ที่ต้องถูกใช้เป็น Host Address นอกจากนั้น Class ยังเป็นตัวกำหนดด้วยว่าจำนวนของ Network Segment ที่มีได้ใน Class นั้น ๆ มีเท่าไร และจำนวนของเครื่องคอมพิวเตอร์ที่สามารถมีได้ ภายใน Network Segment นั้น ๆ มีเท่าไร
Class D
Class นี้จะไม่ถูกนำมาใช้กำหนดให้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ทั่วไป แต่จะถูกใช้สำหรับการส่งข้อมูลแบบ Multicast ของบาง Application Multicast คือ เป็นการส่งจากเครื่องต้นทางหนึ่งไปยัง กลุ่ม ของเครื่องปลายทางอีกกลุ่มหนึ่ง แต่ไม่ใช่ ทุกเครื่องใน Network Segment นั่น ๆ
Class E
Class นี้เป็น Address ที่ถูกสงวนไว้ก่อน ยังไม่ถูกใช้งานจริง ๆ
วิธีสังเกต ว่า IP Address นี้อยู่ Class อะไร
1. ถ้า Byte แรก ซ้ายสุดเป็น ตัวเลข 1-126 แสดงว่าเป็นหมายเลข IP Address ที่อยู่ใน Class A
(IP address 127 นั่น จะเป็น Loopback Address ของ Class นี้หรือ ของคอมท่านเอง )
2. ถ้า Byte แรก ซ้ายสุดเป็น ตัวเลข 128-191 แสดงว่าเป็นหมายเลข IP Address ที่อยู่ใน Class B
3. ถ้า Byte แรก ซ้ายสุดเป็น ตัวเลข 192-223 แสดงว่าเป็นหมายเลข IP Address ที่อยู่ใน Class C
4. ส่วน 224 ขึ้นไปจะเป็น Multicast Address ที่กล่าวไว้ข้างต้น
ที่มา : http://www.compspot.net/index.php?option=com_content&task=view&id=94&Itemid=46
OSI Model (Open Systems Interconnection (OSI) Reference Model)
OSI Model เป็นมาตรฐานที่ใช้อ้างอิงถึงวิธีการในการส่งข้อมูลจาก Computer เครื่องหนึ่งผ่านNetwork ไปยัง Computer อีกเครื่องหนึ่ง ซึ่งหากไม่มีการกำหนดมาตรฐานกลางแล้ว การพัฒนาและใช้งานที่เกี่ยวกับ Network ทั้ง Hardware และ Software ของผู้ผลิตที่เป็นคนละยี่ห้อ อาจเกิดปัญหาเนื่องจากการไม่ compatible กัน OSI เป็น model ในระดับแนวคิด ประกอบด้วย Layer ต่างๆ 7 ชั้น แต่ละ Layer จะอธิบายถึงหน้าที่การทำงานกับข้อมูล OSI Model พัฒนาโดย International Organization for Standardization (ISO) ในปี 1984 และเป็นสถาปัตยกรรมโมเดลหลักที่ใช้อ้างอิงในการสื่อสาระหว่าง Computer โดยข้อดีของ OSI Model คือแต่ละ Layer จะมีการทำงานที่เป็นอิสระจากกัน ดังนั้นจึงสามารถออกแบบอุปกรณ์ของแต่ละ Layer แยกจากกันได้ และการปรับปรุงใน Layer หนึ่งจะไม่มีผลกระทบกับ Layer อื่นๆ 7 Layer ของ OSI Model สามารถแบ่งได้เป็น 2 กลุ่ม คือ upper layers และ lower layers
Upper layers โดยทั่วไปจะเป็นส่วนที่พัฒนาใน Software Application โดยประกอบด้วย Application Layer, Presentation Layer และ Session Layer
Lower Layer จะเป็นส่วนที่ทำหน้าที่ในการสื่อสารข้อมูลซึ่งอาจจะพัฒนาได้ทั้งแบบเป็น Software และ Hardware OSI Model ประกอบด้วย 7 Layer คือ
ข้อมูลข่าวสารที่ส่งจาก Application บน Computer เครื่องหนึ่ง ไปยัง Application บน Computer จะต้องส่งผ่านแต่ละ Layer ของ OSI Model ตามลำดับ ดังรูป โดย Layer แต่ละ Layer จะสามารถสื่อสารได้กับ Layer ข้างเคียงในขั้นสูงกว่าและต่ำกว่า และ Layer เดียวกันในอีกระบบ Computer เท่านั้น
Data ที่จะส่งจะถูกเพิ่ม header ของแต่ละชั้นเข้าไป เมื่อมีการรับข้อมูลที่ปลายทางแล้ว header จะถูกถอดออกตามลำดับชั้น
ตัวอย่าง ในการส่ง Mail จะถูกประกบ header เข้าไป 3 ชั้นเรียงจากบนลงมาคือชั้น Transport จะใส่เบอร์ Port ของ Mail คือ Port 25 ชั้น Network จะถูกใส่ต้นทางและปลายทางโดย Router ชั้น Datalink จะใส่เป็น Mac Address โดย Switch
โดยแต่ละ Layer ของ OSI Model จะมีหน้าที่ต่างกันดังนี้
Physical Layer ชั้น Physical เป็นการอธิบายคุณสมบัติทางกายภาพ เช่น คุณสมบัติทางไฟฟ้า และกลไกต่างๆ ของวัสดุที่ใช้เป็นสื่อกลาง ตลอดจนสัญญาณที่ใช้ในการส่งข้อมูล คุณสมบัติที่กำหนดไว้ในชั้นนี้ประกอบด้วยคุณลักษณะทางกายภาพของสาย, อุปกรณ์เชื่อมต่อ (Connector), ระดับความตางศักย์ของไฟฟ้า (Voltage) และอื่นๆ เช่น อธิบายถึงคุณสมบัติของสาย Unshield Twisted Pair (UTP)
Datalink Layer ชั้น Datalink เป็นชั้นที่อธิบายถึงการส่งข้อมูลไปบนสื่อกลาง ชั้นนี้ยังได้ถูกแบ่งออกเป็นชั้นย่อย (SubLayer) คือ Logical Link Control (LLC) และ Media Access Control (MAC) การแบ่งแยกเช่นนี้จะทำให้ชั้น LLC ชั้นเดียวสามารถจะใช้ชั้น MAC ที่แตกต่างกันออกไปได้หลายชั้น ชั้น MAC นั้นเป็นการดำเนินการเกี่ยวกับแอดเดรสทางกายภาพอย่างที่ใช้ในมาตรฐานอีเทอร์เน็ตและโทเคนริง แอดเดรสทางกายภาพนี้จะถูกฝังมาในการ์ดเครือข่ายโดยบริษัทผู้ผลิตการ์ดนั้น แอดเดรสทางกายภาพนั้นเป็นคนละอย่างกับแอดเดรสทางตรรกะ เช่น IP Address ที่จะถูกใช้งานในชั้น Network เพื่อความชัดเจนครบถ้วนสมบูรณ์ของการใช้ชั้น Data-Link นี้
Network Layer ในขณะที่ชั้น Data-Link ให้ความสนใจกับแอดเดรสทางกายภาพ แต่การทำงานในชั้น Network จะให้ความสนใจกับแอดเดรสทางตรรกะ การทำงานในชั้นนี้จะเป็นการเชื่อมต่อและการเลือกเส้นทางนำพาข้อมูลระหวางเครื่องสองเครื่องในเครือข่าย ชั้น Network ยังให้บริการเชื่อมต่อในแบบ "Connection Oriented" อย่างเช่น X.25 หรือบริการแบบ "Connectionless" เช่น Internet Protocol ซึ่งใช้งานโดยชั้น Transport ตัวอย่างของบริการหลักที่ชั้น Network มีให้คือ การเลือกส้นทางนำพาข้อมูลไปยังปลายทางที่เรียกว่า Routing ตัวอย่างของโปรโตคอลในชั้นนี้ประกอบด้วย Internet Protocol (IP) และ Internet Control Message Protocol (ICMP)
Transport Layer ในชั้นนี้มีบางโปรดตคอลจะให้บริการที่ค่อนข้างคล้ายกับที่มีในชั้น Network โดยมีบริากรด้านคุณภาพที่ทำให้เกิดความน่าเชื่อถือ แต่ในบางโปรโตคอลที่ไม่มีการดูแลเรื่องคุณภาพดังกล่าวจะอาศัยการทำงานในชั้น Transport นี้เพื่อเข้ามาช่วยดูแลเรื่องคุณภาพแทน เหตุผลที่สนับสนุนการใช้งานชั้นนี้ก็คือ ในบางสถานการณ์ของชั้นในระดับล่างทั้งสาม (คือชั้น Physical, Data-Link และ Network) ดำเนินการโดยผู้ให้บริการโทรคมนาคม การจะเพิ่มความมั่นใจในคุณภาพให้กับผู้ใช้บริการก็ด้วยการใช้ชั้น Transport นี้"Transmission Control Protocol (TCP) เป็นโปรโตคอลในชั้น Transport ที่มีการใช้งานกันมากที่สุด"
Session Layer ชั้น Session ทำหน้าที่สร้างการเชื่อมต่อ, การจัดการระหว่างการเชื่อมต่อ และการตัดการเชื่อมต่อคำว่า "เซสชัน" (Session) นั้หมายถึงการเชื่อมต่อกันในเชิงตรรกะ (Logic) ระหว่างปลายทางทั้งสองด้าน (เครื่อง 2 เครื่อง) ชั้นนี้อาจไม่จำเป็นต้องถูกใช้งานเสมอไป อย่างเช่นถ้าการสื่อสารนั้นเป็นไปในแบบ "Connectionless" ที่ไม่จำเป็นต้องเชื่อมต่อ เป็นต้น ระหว่างการสื่อสารในแบบ "Connection-less" ทุกๆ แพ็กเก็ต (Packet) ของข้อมูลจะมีข้อมูลเกี่ยวกับเครื่องปลายทางที่เป็นผู้รับติดอยู่อย่างสมบูรณ์ในลักษณะของจดหมายที่มีการจ่าหน้าซองอย่างถูกต้องครบถ้วน ส่วนการสื่อสารในแบบ "Connection Oriented" จะต้องมีการดำเนินการบางอย่างเพื่อให้เกิดการเชื่อมต่อ หรือเกิดเป็นวงจรในเชิงตรรกะขึ้นมาก่อนที่การรับ/ส่งข้อมูลจะเริ่มต้นขึ้น แล้วเมื่อการรับ/ส่งข้อมูลดำเนินไปจนเสร็จสิ้นก็ต้องมีการดำเนินการบางอย่างเพื่อที่จะตัดการเชื่อมต่อลง ตัวอย่างของการเชื่อมต่อแบบนี้ได้แก่การใช้โทรศัพท์ที่ต้องมีการกดหมายเลขปลายทาง จากนั้นก็ต้องมีการดำเนินการบางอย่างของระบบจนกระทั่งเครื่องปลายทางมีเสียงดังขึ้น การสื่อสารจะเริ่มขึ้นจริงเมือ่มีการทักทายกันของคู่สนทนา จากนั้นเมื่อคู่สนทนาฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งวางหูก็ต้องมีการดำเนินการบางอย่างที่จะตัดการเชื่อมต่อลงชั้น Sussion นี้มีระบบการติดตามด้วยว่าฝั่งใดที่ส่งข้อมูลซีงเรียกว่า "Dialog Management"
Simple MailTransport Protocol (SMTP), File Transfer Protocol (FTP) และ Telnet เป็นตัวอย่างของโปรโตคอลที่นิยมใช้ และมีการทำงานครอบคลุมในชั้น Session, Presentation และ Application
Presentation Layer ชั้น Presentation ให้บริการทำการตกลงกันระหว่างสองโปรโตคอลถึงไวยากรณ์ (Syntax) ที่จะใช้ในการรับ/ส่งข้อมูล เนื่องจากว่าไม่มีการรับรองถึงไวยากรณ์ที่จะใช้ร่วมกัน การทำงานในชั้นนี้จึงมีบริการในการแปลข้อมูลตามที่ได้รับการร้องขอด้วย
Application Layer ชั้น Application เป็นชั้นบนสุดของแบบจำลอง ISO/OSI เป็นชั้นที่ใช้บริการของชั้น Presentation (และชั้นอื่นๆ ในทางอ้อมด้วย) เพื่อประยุกต์ใช้งานต่างๆ เช่น การทำ E-mail Exchange (การรับ/ส่งอีเมล์), การโอนย้ายไฟล์ หรือการประยุกต์ใช้งานทางด้านเครือข่ายอื่นๆ
จากรูปเป็นการเปรียบเทียบระหว่าง OSI Model กับการสื่อสารของ Internet โดยจะแสดงรูปแบบข้อมูล, data และอุปกรณ์ที่ทำงานอยู่ในแต่ละ Layer
เป็นอย่างไรมั่งครับ OSI Model ถือเป็นพื้นฐานของ Network เลยทีเดียว ซึ่งหากเราเข้าใจหลักการทำงานของมันแล้ว เราจะสามารถออกแบบและวิเคราะห์ Network ต่างๆ ได้ง่ายขึ้น
ความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับหน่วยของข้อมูลต่างๆ ที่เราเคยได้ยินว่าแต่ละแบบคืออะไร
ข้อมูลที่ส่งในระบบเครือข่ายมีหลายรูปแบบที่หลากหลาย ขึ้นอยู่กับการออกแบบของแต่ละ Application หรือแต่ละผู้ผลิต แต่รูปแบบทั่วไปที่เรียกข้อมูลได้แก่
Frame หน่วยของข้อมูลในระดับ Datalink Layer
Packet หน่วยของข้อมูลในระดับ Network Layer
Datagram หน่วยของข้อมูลในระดับ Network Layer ที่มีรูปแบบการเชื่อมต่อแบบ Connectional Less
Segment หน่วยของข้อมูลในระดับ Transport Layer
Message ระดับข้อมูลในเหนือ Network Layer มักจะหมายถึงระดับ Application Layer
Cell หน่วยข้อมูลที่มีขนาดแน่นอนในระดับ Datalink Layer ใช้เป็นหน่วยในลักษณะการส่งข้อมูลแบบสวิตซ์ เช่น Asynchronous Transfer Mode (ATM) หรือ Switched Multimegabit Data Service (SMDS)
Data unit หน่วยข้อมูลทั่วไป
ที่มา : http://support.mof.go.th/lan/osi.htm
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ( Computer Network ) หมายถึง การต่อเชื่อมคอมพิวเตอร์ ตั้งแต่ 2 เครื่องขึ้นไปเข้าด้วยกันด้วยสายเคเบิลหรือสื่ออื่นๆ ทำให้คอมพิวเตอร์สามารถรับส่งข้อมูลแก่กันและกันได้
เครือข่ายคอมพิวเตอร์อย่างง่าย
จากภาพเป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์อย่างง่ายในที่ทำงานเดียวกัน หรือพื้นที่ใกล้ๆ กัน คอมพิวเตอร์ทุกเครื่อง เชื่อมต่อถึงกันด้วยสายเคเบิล และต่อเข้ากับเครื่องพิมพ์ ดังนั้น เราสามารถที่จะส่งข้อมูลไปพิมพ์ออกทางเครื่องพิมพ์ จากเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องใดก็ได้ แต่ถ้าเป็นการเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์จากเครื่องที่อยู่ห่างไกลกันมากๆ เช่นจากจังหวัดหนึ่งไปอีกจังหวัดหนึ่ง เช่น จากกรุงเทพฯไปจังหวัดนครราชสีมา อุปกรณ์ที่ใช้เชื่อมโยงกันคือเครือข่ายโทรศัพท์หรือการส่งข้อมูลตามสายโทรศัพท์นั่นเอง
องค์ประกอบของการส่งข้อมูล จากคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งไปยังอีกเครื่องหนึ่ง จะต้องมองค์ประกอบ 3 ประการ คือ ผู้ส่ง ( Sender ) ผู้รับ (Receiver ) และ ตัวกลางในการส่ง ( Transmission Medium) ที่นำข้อมูลจากผู้ส่งไปยังผู้รับ
ที่มา : http://school.obec.go.th/ckn/network1/new_page_3.htm
รูปแบบของเครือข่าย
ประเภทระบบเครือข่าย
1. LAN (Local Area Network)ระบบเครื่องข่ายท้องถิ่น เป็นเน็ตเวิร์กในระยะทางไม่เกิน 10 กิโลเมตร ไม่ต้องใช้โครงข่ายการสื่อสารขององค์การโทรศัพท์ คือจะเป็นระบบเครือข่ายที่อยู่ภายในอาคารเดียวกันหรือต่างอาคาร ในระยะใกล้ๆ
2. MAN (Metropolitan Area Network)ระบบเครือข่ายเมือง เป็นเน็ตเวิร์กที่จะต้องใช้โครงข่ายการสื่อสารขององค์การโทรศัพท์ หรือการสื่อสารแห่งประเทศไทย เป็นการติดต่อกันในเมือง เช่น เครื่องเวิร์กสเตชั่นอยู่ที่สุขุมวิท มีการติดต่อสื่อสารกับเครื่องเวิร์กสเตชั่นที่บางรัก
3. WAN (Wide Area Network)ระบบเครือข่ายกว้างไกล หรือเรียกได้ว่าเป็น World Wide ของระบบเน็ตเวิร์ก โดยจะเป็นการสื่อสารในระดับประเทศ ข้ามทวีปหรือทั่วโลก จะต้องใช้มีเดีย(Media) ในการสื่อสารขององค์การโทรศัพท์ หรือการสื่อสารแห่งประเทศไทย (คู่สายโทรศัพท์ dial-up / คู่สายเช่า Leased line / ISDN) (lntegrated Service Digital Network สามารถส่งได้ทั้งข้อมูล เสียง และภาพในเวลาเดียวกัน)
ประเภทของระบบเครือข่าย
Peer To Peer เป็นระบบที่เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องบนระบบเครือข่ายมีฐานเท่าเทียมกัน คือทุกเครื่องสามารถจะใช้ไฟล์ในเครื่องอื่นได้ และสามารถให้เครื่องอื่นมาใช้ไฟล์ของตนเองได้เช่นกัน ระบบ Peer To Peer มีการทำงานแบบดิสทริบิวท์(Distributed System) โดยจะกระจายทรัพยากรต่างๆ ไปสู่เวิร์กสเตชั่นอื่นๆ แต่จะมีปัญหาเรื่องการรักษาความปลอดภัย เนื่องจากข้อมูลที่เป้นความลับจะถูกส่งออกไปสู่คอมพิวเตอร์อื่นเช่นกันโปรแกรมที่ทำงานแบบ Peer To Peer คือ Windows for Workgroup และ Personal Netware
Client / Server เป็นระบบการทำงานแบบ Distributed Processing หรือการประมวลผลแบบกระจาย โดยจะแบ่งการประมวลผลระหว่างเครื่องเซิร์ฟเวอร์กับเครื่องไคลเอ็นต์ แทนที่แอพพลิเคชั่นจะทำงานอยู่เฉพาะบนเครื่องเซิร์ฟเวอร์ ก็แบ่งการคำนวณของโปรแกรมแอพพลิเคชั่น มาทำงานบนเครื่องไคลเอ็นต์ด้วย และเมื่อใดที่เครื่องไคลเอ็นต์ต้องการผลลัพธ์ของข้อมูลบางส่วน จะมีการเรียกใช้ไปยัง เครื่องเซิร์ฟเวอร์ให้นำเฉพาะข้อมูลบางส่วนเท่านั้นส่งกลับ มาให้เครื่องไคลเอ็นต์เพื่อทำการคำนวณข้อมูลนั้นต่อไป
รูปแบบการเชื่อมต่อของระบบเครือข่าย LAN Topology
ระบบ Bus การเชื่อมต่อแบบบัสจะมีสายหลัก 1 เส้น เครื่องคอมพิวเตอร์ทั้งเซิร์ฟเวอร์ และไคลเอ็นต์ทุกเครื่องจะต้องเชื่อมต่อสายเคเบิ้ลหลักเส้นนี้ โดยเครื่องคอมพิวเตอร์จะถูกมองเป็น Node เมื่อเครื่องไคลเอ็นต์เครื่องที่หนึ่ง (Node A) ต้องการส่งข้อมูลให้กับเครื่องที่สอง (Node C) จะต้องส่งข้อมูล และแอดเดรสของ Node C ลงไปบนบัสสายเคเบิ้ลนี้ เมื่อเครื่องที่ Node C ได้รับข้อมูลแล้วจะนำข้อมูล ไปทำงานต่อทันที
ข้อดี ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการวางสายเคเบิลมากนัก สามารถขยายระบบได้ง่าย เสียค่าใช้จ่ายน้อย
ข้อเสีย อาจเกิดข้อผิดพลาดง่าย เนื่องจากทุกเครื่องคอมพิวเตอร์ต่อยู่บนสายสัญญาณเพียงเส้นเดียว ดังนั้นหากมีการขาดที่ตำแหน่งใดตำแหน่งหนึ่ง ก็จะทำให้เครื่องอื่นส่วนใหญ่หรือทั้งหมดในระบบไม่สามารถใช้งานได้ตามไปด้วย การตรวจหาโหนดเสีย ทำได้ยากเนื่องจากขณะใดขณะหนึ่งจะมีคอมพิวเตอร์เพียงเครื่องเดียวเท่านั้นที่สามารถส่งข้อความออกมาบนสายสัญญาณ ดังนั้นถ้ามีเครื่องคอมพิวเตอร์จำนวนมากๆ อาจทำให้เกิดการคับคั่งของเน็ตเวิร์ก ซึ่งจะทำให้ระบบช้าลงได้
แบบ Ring การเชื่อมต่อแบบวงแหวน เป็นการเชื่อมต่อจากเครื่องหนึ่งไปยังอีกเครื่องหนึ่ง จนครบวงจร ในการส่งข้อมูลจะส่งออกที่สายสัญญาณวงแหวน โดยจะเป็นการส่งผ่านจากเครื่องหนึ่ง ไปสู่เครื่องหนึ่งจนกว่าจะถึงเครื่องปลายทาง ปัญหาของโครงสร้างแบบนี้คือ ถ้าหากมีสายขาดในส่วนใดจะทำ ให้ไม่สามารถส่งข้อมูลได้ ระบบ Ring มีการใช้งานบนเครื่องตระกูล IBM กันมาก เป็นเครื่องข่าย Token Ring ซึ่งจะใช้รับส่งข้อมูลระหว่างเครื่องมินิหรือเมนเฟรมของ IBM กับเครื่องลูกข่ายบนระบบ
การเชื่อมต่อแบบวงแหวน ถูกออกแบบให้ใช้ Media Access Units (MAU) ต่อรวมกันแบบเรียงลำดับเป็นวงแหวน แล้วจึงต่อ คอมพิวเตอร์ (PC) ที่เป็น Workstation หรือ Server เข้ากับ MAU ใน MAU 1 ตัวจะสามารถต่อออกไปได้ถึง 8 สถานี เมื่อสถานีถัดไปนั้นรับรู้ว่าต้องรับข้อมูล แล้วมันจึงส่งข้อมูลกลับ เป็นการตอบรับ เมื่อสถานีที่จะส่งข้อมูลได้รัยสัญญาณตอบรับ แล้วมันจึงส่งข้อมูลครั้งแรก แล้วมันจะลบข้อมูลออกจากระบบ เพื่อให้ได้ใช้ข้อมูลอื่นๆ ต่อไป ดังนั้นทุกสถานีบน โทโปโลยี วงแหวนจะได้ทำงานทั้งหมดซึ่งจะคอยเป็นผู้รับและผู้ส่งแล้วยังเป็นรีพีทเตอร์ในตัวอีกด้วย ข้อมูลที่ผ่านไปแต่ละสถานี นั้น ข้อมูลที่เป็นตำแหน่งที่อยู่ตรงกับ สถานีใด สถานีนั้นจะรับข้อมูลเก็บไว้ แต่มันจะไม่ลบข้อมูลออกจากระบบ มันยังคงส่งข้อมูลต่อไป ดังนั้นผู้ส่งข้อมูลครั้งแรกเท่านั้นที่จะเป็นผู้ลบข้อมูลออกจากระบบ ครั้นเมื่อสถานีส่ง TOKEN มาถามสถานีถัดไปแล้วแต่กลับไม่ได้รับคำตอบ สถานีส่ง TOKEN จะทวนซ้ำข้อมูลเป็นครั้งที่สอง ถ้ายังคงไม่ได้รับคำตอบ จึงส่งข้อมูลออกไปได้ เหตุการณ์ดังกล่าวนี้ เป็นอีกแนวทางหนึ่งในการแก้ปัญหาที่ไม่ให้ระบบหยุดชะงักการทำงานลงของระบบ เนื่องจากสถานีหนึ่งเกิดการเสียหาย หรือชำรุด ระบบจึงยังคงสามทำงานต่อไปได้
ข้อดี ใช้เคเบิลและเนื้อที่ในการติดตั้งน้อย คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องในเน็ตเวิร์กมีโอกาสที่จะส่งข้อมูลได้อย่างทัดเทียมกัน
ข้อเสีย หากโหลดใดโหลดหนึ่งเกิดปัญหาขึ้นจะค้นหาได้ยากว่าต้นเหตุอยู่ที่ไหน และวงแหวนจะขาดออก
แบบ Star(แบบดาว) การเชื่อมต่อแบบสตาร์นี้จะใช้อุปกรณ์ Hub เป็นศูนย์กลางในการเชื่อมต่อ โดยที่ทุกเครื่องจะต้องผ่าน Hub สายเคเบิ้ลที่ใช้ส่วนมากจะเป็น UTP และ Fiber Optic ในการส่งข้อมูล Hub จะเป็นเสมือนตัวทวนสัญญาณ (Repeater) ปัจจุบันมีการใช้ Switch เป็นอุปกรณ์ในการเชื่อมต่อซึ่งมีประสิทธิภาพการทำงานสูงกว่า แบบ Starจะเป็นลักษณะของการต่อเครือข่ายที่ Work station แต่ละตัวต่อรวมเข้าสู่ศูนย์กลางสวิตซ์ เพื่อสลับตำแหน่งของเส้นทางของข้อมูลใด ๆ ในระบบ ดังนั้นใน โทโปโลยี แบบดาว คอมพิวเตอร์จะติดต่อกันได้ใน 1 ครั้ง ต่อ 1 คู่สถานีเท่านั้น เมื่อสถานีใดต้องการส่งข้องมูลมันจะส่งข้อมูลไปยังศูนย์กลางสวิทซ์ก่อน เพื่อบอกให้ศูนย์กลาง สวิตซ์มันสลับตำแหน่งของคู่สถานีไปยังสถานีที่ต้องการติดต่อด้วย ดังนั้นข้อมูลจึงไม่เกิดการชนกันเอง ทำให้การสื่อสารได้รวดเร็วเมื่อสถานีใดสถานีหนึ่งเสีย ทั้งระบบจึงยังคงใช้งานได้ ในการค้นหาข้อบกพร่องจุดเสียต่างๆ จึงหาได้ง่ายตามไปด้วย แต่ก็มีข้อเสียที่ว่าต้องใช้งบประมาณสูงในการติดตั้งครั้งแรก
ข้อดี ติดตั้งและดูแลง่าย แม้ว่าสายที่เชื่อมต่อไปยังบางโหลดจะขาด โหลดที่เหลืออยู่ก็ยังจะสามารถทำงานได้ ทำให้ระบบเน็ตเวิร์กยังคงสามารถทำงานได้เป็นปกติการมี Central node อยู่ตรงกลางเป็นตัวเชื่อมระบบ ถ้าระบบเกิดทำงานบกพร่องเสียหาย ทำให้เรารู้ได้ทันทีว่าจะไปแก้ปัญหาที่ใด
ข้อเสีย เสียค่าใช้จ่ายมาก ทั้งในด้านของเครื่องที่จะใช้เป็น central node และค่าใช้จ่ายในการติดตั้งสายเคเบิลในสถานีงาน การขยายระบบให้ใหญ่ขึ้นทำได้ยาก เพราะการขยายแต่ละครั้งจะต้องเกี่ยวเนื่องกับโหลดอื่นๆ ทั้งระบบ เครื่องคอมพิวเตอร์ศูนย์กลางมีราคาแพง แบบ วงแหวน (Ring Network)
แบบ Hybrid เป็นการเชื่อมต่อที่ผสมผสานเครือข่ายย่อยๆ หลายส่วนมารวมเข้าด้วยกัน เช่น นำเอาเครือข่ายระบบ Bus, ระบบ Ring และ ระบบ Star มาเชื่อมต่อเข้าด้วยกัน เหมาะสำหรับบางหน่วยงานที่มีเครือข่ายเก่าและใหม่ให้สามารถทำงานร่วมกันได้ ซึ่งระบบ Hybrid Network นี้จะมีโครงสร้างแบบ Hierarchical หรือ Tree ที่มีลำดับชั้นในการทำงาน
เครือข่ายแบบไร้สาย ( Wireless LAN) อีกเครือข่ายที่ใช้เป็นระบบแลน (LAN) ที่ไม่ได้ใช้สายเคเบิลในการเชื่อมต่อ นั่นคือระบบเครือข่ายแบบไร้สาย ทำงานโดยอาศัยคลื่นวิทยุ ในการรับส่งข้อมูล ซึ่งมีประโยชน์ในเรื่องของการไม่ต้องใช้สายเคเบิล เหมาะกับการใช้งานที่ไม่สะดวกในการใช้สายเคเบิล โดยไม่ต้องเจาะผนังหรือเพดานเพื่อวางสาย เพราะคลื่นวิทยุมีคุณสมบัติในการทะลุทะลวงสิ่งกีดขวางอย่าง กำแพง หรือพนังห้องได้ดี แต่ก็ต้องอยู่ในระยะทำการ หากเคลื่อนย้ายคอมพิวเตอร์ไปไกลจากรัศมีก็จะขาดการติดต่อได้ การใช้เครือข่ายแบบไร้สายนี้ สามารถใช้ได้กับคอมพิวเตอร์พีซี และโน๊ตบุ๊ก และต้องใช้การ์ดแลนแบบไร้สายมาติดตั้ง รวมถึงอุปกรณ์ที่เรียกว่า Access Point ซึ่งเป็นอุปกรณ์จ่ายสัญญาณสำหรับระบบเครือข่ายไร้สาย มีหน้าที่รับส่งข้อมูลกับการ์ดแลนแบบไร้สาย
เครือข่ายแบบตาข่าย (Mesh Network)ใช้ในระบบเครือข่ายบริเวณกว้าง (WAN) ลักษณะการสื่อสาร จะมีการต่อสายหรือทางเดินของข้อมูลระหว่างคอมพิวเตอร์หรือโหนดไปยังโหนดอื่น ๆ ทุกตัว มีทางเดินข้อมูลหลายเส้นทาง และปลอดภัยจากเหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้นจากการ ล้มเหลวของระบบ ค่าใช้จ่ายมากกว่าระบบเครือข่ายประเภทอื่น ๆ
ที่มา : http://home.kku.ac.th/regis/student/kk/page3.html
TCP/IP กับเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
TCP/IPTransmission Control Protocol/ Internet Protocol (TCP/IP) เป็นโปรโตคอลที่ถูกนำมาใช้งานกับระบบเครือข่ายภายใน (LAN) หรือ ระบบเครือข่ายขนาดใหญ่ (WAN) จนถึงระบบเครือข่ายที่ไม่มีที่สิ้นสุด (INTERNET) ซึ่งหากเข้าใจหลักการทำงานของโปรโตคอลชนิดนี้แล้ว จะทำให้จินตนาการได้ว่าเกิดอะไรขึ้น บนระบบเครือข่าย และเหตุผลที่ทำต้องติดตั้งในแบบเฉพาะแต่ละระบบการใช้งานโดยหลักการแล้ว TCP/IP จะทำหน้าที่เป็นสื่อกลางในการรับ-ส่ง ข้อมูลใน Internet ซึ่งจะเปรียบเทียบให้เห็นชัดเจน โดยขอยกตัวอย่างเครือข่าย Internet กับเครือข่ายของการรถไฟบ้านเรา ที่ต้องอาศัยเส้นทางวิ่งบนรางรถไฟที่วางไว้ในเส้นทางต่าง ๆ เทียบได้กับเครือข่าย Computer ใน Internet ส่วนการขนส่งสินค้าไปยังจุดหมายปลายทางต่าง ๆ นั้น ต้องอาศัยขบวนรถไฟ ที่เปรียบได้กับ TCP/IP โดยสินค้าที่บรรทุกไปนั้นก็คือ ข้อมูลนั่นเอง หากข้อมูลที่ต้องการส่งมีมาก ก็ต้องแบ่งข้อมูลออกเป็นส่วนๆ ใส่ไว้ในแต่ละโบกี้ ซึ่ง TCP/IP ก็ทำงานในลักษณะเดียวกัน โดยแบ่งข้อมูลออกเป็นส่วนย่อย เรียกว่า Packet แยกกันส่งไปยังจุดหมายปลายทาง ในขบวนรถไฟไม่ได้มีแต่เพียงเฉพาะสินค้าของเราเท่านั้นแต่ยังมีสินค้าของคนอื่นอีก เช่นเดียวกันกับ TCP/IP ที่จะมีข้อมูลของคนอื่นถูกส่งไปด้วย สำหรับการอ้างอิงตำแหน่งของแต่ละอุปกรณ์ในเครือข่ายของ TCP/IP จะใช้หมายเลขอ้างอิงที่เรียกว่า IP Address เปรียบได้กับบ้านเลขที่ของบ้านแต่ละหลัง ที่จะต้องไม่ซ้ำกันการกำหนดจะต้องเป็นไปตามรูปแบบมาตรฐานที่ได้กำหนดไว้ ไม่สามารถกำหนดได้ตามใจชอบ ซึ่งผู้ใช้จะเห็นเป็นตัวเลข 4 ชุด คั่นด้วยจุด เช่น 193.167.0.2 ตัวเลขแต่ละชุด เครื่องคอมพิวเตอร์จะใช้เนื้อที่ 8 บิท หรือ 1 ไบต์ ในการเก็บ ดังนั้น IP Address จึงต้องการเนื้อที่ในการเก็บข้อมูลทั้งหมด 4 ไบต์ โดยจะถูกแยกเป็น ๒ ส่วน ได้แก่ ส่วนของหมายเลขเครือข่าย และส่วนของหมายเลขเครื่อง นอกจากนี้ IP Address ยังถูกแบ่งออกตามขนาดของหมายเลขเครือข่ายและหมายเลขเครื่องเป็น 5 กลุ่มคือ Class A, B, C, D และ E มีส่วนที่เกี่ยวพันกับ TCP/IP อีก 2 ส่วน คือ Network Mask และ Subnet Mask โดยตัว Network Mask จะเป็นส่วนที่บอกว่า IP Address ที่เราใช้นั้นมีกี่ไบต์ ที่เป็นส่วนของหมายเลขเครือข่าย ดังนั้นหากเราต้องการใช้บิทใดเป็นหมายเลขเครือข่ายก็ให้กำหนดค่าเป็น 1 หรือเรียกว่า Mask ส่วนบิทที่เหลือก็ให้กำหนดค่าเป็น 0 ซึ่งจะใช้ในส่วนของหมายเลขเครื่องนั่นเอง เช่น Network Mask 255.255.255.0 จะใช้ 3 ไบต์ แรก เป็นหมายเลขเครือข่าย ส่วน Subnet Mask จะใช้สำหรับกำหนดหมายเลขเครือข่ายเพิ่มเติม โดยการยืมบางส่วนที่ใช้ในการกำหนดหมายเลขเครื่อง มาใช้งาน เช่น ขอยืม 1 บิท แรก ของ ไบต์ ที่สาม เป็นต้นTCP/IP เป็นพวก layered protocol ซึ่งหมายถึงการที่ layer หนึ่งถูกสร้างขึ้นบนอีก layer หนึ่งโดยมีการเพิ่มฟังก์ชันใหม่ๆ ให้กับ layer นั้น ๆ เริ่มจาก layer ต่ำสุด จะทำหน้าที่รับ-ส่งข้อมูล ผ่านอุปกรณ์ ฮาร์ดแวร์ ของระบบเครือข่าย ส่วน layer บนสุดถูกออกแบบให้ทำหน้าที่แลกเปลี่ยน files รวมถึงการรับส่งอีเมล์ สำหรับ layer ที่อยู่ระหว่าง layer ทั้งสองนั้นจะทำหน้าที่นำข้อมูลไปส่งยังปลายทางได้อย่างถูกต้องและแน่นอน ซึ่ง TCP/IP จัดเป็นพวก four-layer protocol ดังนี้
Application layer: FTP และ SMTP
Transport layer: TCP
Network layer: IP
Link layer: IEEE 802.x, PPP, and SLIP
จากตัวอย่าง Layer ต่ำสุดคือ Link layer ซึ่งจะถูกสร้างอยู่ใน network adapter และ driver programme ที่ใช้ควบคุมการทำงานของ network adapter ถัดมาคือ Network layer และโปรโตคอลที่สำคัญที่สุดสำหรับ layer นี้คือ IP (Internet Protocol) ซึ่งมีหน้าที่ส่งกลุ่มข้อมูล (packets or datagrams) จากจุดจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่งโดยใช้ link layer เป็นตัวกลางในการนำส่งทั้ง link layer และnetwork layer จะมีหน้าที่เกี่ยวข้องกันในเรื่องการรับส่งข้อมูลจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่ง สำหรับ IP จัดอยู่ในพวก connectionless โปรโตคอล เปรียบได้กับคนที่ทำงานเกี่ยวกับการจัดประเภทหรือค้นหาจดหมาย โดยไม่สนใจว่าจดหมายนี้เป็นของใคร แต่สนใจแค่เพียงการนำจดหมายเหล่านั้นไปส่งไปยังจุดหมายปลายทางตามเส้นทางที่ถูกกำหนดไว้เท่านั้น ตลอดจนไม่ใส่ใจว่าข้อมูล (packet) ได้ถูกส่งไปถึงจุดหมายปลายทางหรือไม่ หรือข้อมูลเหล่านั้นไปถึงที่หมายในลำดับที่ถูกต้องหรือไม่ เพราะว่าใน IP packet ไม่มีข้อมูลที่บ่งบอกถึงลำดับก่อนหลังของข้อมูลที่ถูกส่งไป ผลที่ตามมาก็คือ IP จะไม่สามารถบอกได้ว่าข้อมูล (packets) ที่ถูกส่งไปมีการสูญหายหรือลำดับความถูกต้องของข้อมูลที่ได้รับที่เครื่องรับปลายทาง ดังนั้นจึงทำให้ IP เป็นโปรโตคอลที่ไม่มีความน่าเชื่อถือในการติดต่อสื่อสารเท่าที่ควร เมื่อนำมาใช้เพียงโปรโตคอลเดี่ยว ๆ ส่วนกระบวนการที่เป็นตัวทำให้การสื่อสารน่าเชื่อถือขึ้นนั้นจะอยู่ใน layer ชั้นที่อยู่สูงขึ้นไปอีก Layer ถัดมาได้แก่ Transport layer โดยส่วนประกอบสำคัญที่อยู่ใน layer นี้คือ TCP (Transmission Control Protocol) ซึ่งเป็นโปรโตคอลที่นิยมใช้ทั่วไปในโปรแกรมอินเตอร์เน็ตต่าง ๆ เช่น Telnet, FTP และ HTTP สำหรับ TCP จัดอยู่ในพวก connection-oriented protocol กล่าวคือ เมื่อไหร่ก็ตามที่มีการเชื่อมโยงแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างคอมพิวเตอร์ ต้องมีการสร้างการเชื่อมต่อขึ้นมาก่อนทุกครั้ง หลังจากนั้นจึงเริ่มส่งหรือรับข้อมูลได้ เปรียบได้กับการโทรศัพท์ ซึ่งด้านผู้เรียกจะหมุนหมายเลขโทรศัพท์ไปยังด้านปลายทาง จนได้รับสัญญาณตอบรับ จึงจะเริ่มสนทนาได้ อนึ่ง TCP จัดเป็นโปรโตคอลที่มีความน่าเชื่อถือต่อการนำมาใช้งาน เนื่องจาก หากแอพพลิเคชั่นใดที่นำโปรโตคอล ชนิดนี้มาใช้ จะรับรู้ได้ว่า ข้อมูลที่ถูกส่งออกไปยังที่หมายปลายทางจะเป็นข้อมูลที่มีความถูกต้องและแน่นอน เนื่องจากภายใน TCP นั้นมีฟังก์ชันการตรวจสอบข้อมูลอยู่ เมื่อไหร่ก็ตามที่ข้อมูลได้ส่งไปถึงด้านปลายทางแล้ว TCP จะส่งการตอบรับ (acknowledgement) กลับไปยังเครื่องส่ง ดังนั้น หากเกิดกรณีที่เครื่องส่งยังไม่ได้รับการตอบรับจากเครื่องรับปลายทางในเวลาช่วงระยะเวลาหนึ่ง เครื่องส่งจะเริ่มต้นส่งข้อมูลใหม่อีกครั้งหนึ่ง นอกจากนี้ TCP ยังมีกลไกภายในที่จะจัดการกับลำดับข้อมูลที่ถูกส่งมาจากเครื่องส่ง ให้อยู่ในลำดับที่ถูกต้อง รวมถึงกลไกที่เรียกว่า Flow control ที่สามารถป้องกันการส่งข้อมูลจำนวนมากมายังเครื่องรับปลายทาง โดยทั่วไปแล้ว TCP จะส่งข้อมูลในรูปของ block หรือ segment โดยใช้ IP ซึ่งขนาดของ segment จะถูกกำหนดโดยโปรโตคอล TCP เอง และแต่ละ segment จะประกอบไปด้วยข้อมูลขนาด 20 bytes Layer สุดท้ายที่อยู่ด้านบนสุดคือ Application layer ส่วนประกอบที่สำคัญของ layer นี้ได้แก่ File Transfer Protocol (FTP) และ Simple Mail Transfer Protocol (SMTP) แอปพลิเคชั่นเหล่านี้เมื่อถูกเรียกใช้งานโดยผู้ใช้จะเรียกใช้ TCP/IP ในทันที ดังนั้นจะเห็นได้ว่า TCP/IP โปรโตคอลเป็นโปรโตคอลที่มีความน่าเชื่อถือในการใช้งานในระบบเครือข่าย ไม่ว่าขนาดเล็กหรือใหญ่ นอกจากนี้ ยังมีความยืดหยุ่นในการใช้งานร่วมกับโปรโตคอลอื่น ๆ เช่น NETBIOS ซึ่งในอนาคตจะมีการนำโปรโตคอลชนิดนี้มาปรับปรุงเพื่อให้ใช้กับแอปพลิเคชั่นต่าง ๆ ที่จะถูกพัฒนาขึ้นมาใช้ใหม่ รวมถึงการเพิ่มระบบความปลอดภัยในการนำโปรโตคอลชนิดนี้มาใช้งานในอนาคตอีกด้วย
ที่มา : http://www.oocities.com/iactart/TCPIP.htm
IP Address
IP Address คือหมายเลขประจำเครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งประกอบด้วยตัวเลข 4 ชุด มีเครื่องหมายจุดขั้นระหว่างชุด เช่น 192.168.100.1 หรือ 172.16.10.1 เป็นต้นมาตรฐานของ IP Address ปัจจุบันเป็นมาตรฐาน version 4 หรือที่เรียกกันสั้น ๆ ว่า IPv4 ซึ่งกำหนดให้ IP Address มีทั้งหมด 32 bit หรือ 4 byte แต่ล่ะ byte จะถูกคั่นด้วยจุด (.) ภายในหมายเลขที่เราเห็นยังถูกแบ่งออกเป็น 2 ส่วนดังนี้
1. Network Address หรือ Subnet Address
2. Host Address
บนเครื่อง computer ที่ใช้ TCP/IP Protocol จะมีหมายเลข IP Address กำกับอยู่ address นี้ เป็นอยู่ใน Layer 3 ของ OSI model ซึ่งสามารถเปลี่ยนแปลงได้ตลอดเวลา (Logical address) และบนเครื่อง computerไม่ว่าจะใช้ Protocol ใด ๆ ก็ตามจะต้องมีหมายเลข ที่เรียกว่า MAC Address ประจำอยู่ที่ Network card เสมอ MAC Address นี้เป็น Hardware Address ที่เปลี่ยนแปลงไม่ได้ เว้นแต่จะเปลี่ยน Network card
Class ของแต่ละ IP Address
ทำไมต้องแบ่งเป็น Classต่าง ๆ เพื่ออะไร
เพื่อความเป็นระเบียบไงครับ ทางองค์กรกลางที่ดูแลเรื่องของ IP Address จึงได้มีการจัด Class หรือ หมวดหมู่ของ IP Address ไว้ทั้งหมด 5 Class โดย Class ของ Address จะเป็นตัวกำหนดว่า Bit ใดบ้างใน หมายเลข IP Addressที่ต้องถูกใช้เพื่อเป็น Network Address และ Bit ใดบ้าง ที่ต้องถูกใช้เป็น Host Address นอกจากนั้น Class ยังเป็นตัวกำหนดด้วยว่าจำนวนของ Network Segment ที่มีได้ใน Class นั้น ๆ มีเท่าไร และจำนวนของเครื่องคอมพิวเตอร์ที่สามารถมีได้ ภายใน Network Segment นั้น ๆ มีเท่าไร
Class D
Class นี้จะไม่ถูกนำมาใช้กำหนดให้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ทั่วไป แต่จะถูกใช้สำหรับการส่งข้อมูลแบบ Multicast ของบาง Application Multicast คือ เป็นการส่งจากเครื่องต้นทางหนึ่งไปยัง กลุ่ม ของเครื่องปลายทางอีกกลุ่มหนึ่ง แต่ไม่ใช่ ทุกเครื่องใน Network Segment นั่น ๆ
Class E
Class นี้เป็น Address ที่ถูกสงวนไว้ก่อน ยังไม่ถูกใช้งานจริง ๆ
วิธีสังเกต ว่า IP Address นี้อยู่ Class อะไร
1. ถ้า Byte แรก ซ้ายสุดเป็น ตัวเลข 1-126 แสดงว่าเป็นหมายเลข IP Address ที่อยู่ใน Class A
(IP address 127 นั่น จะเป็น Loopback Address ของ Class นี้หรือ ของคอมท่านเอง )
2. ถ้า Byte แรก ซ้ายสุดเป็น ตัวเลข 128-191 แสดงว่าเป็นหมายเลข IP Address ที่อยู่ใน Class B
3. ถ้า Byte แรก ซ้ายสุดเป็น ตัวเลข 192-223 แสดงว่าเป็นหมายเลข IP Address ที่อยู่ใน Class C
4. ส่วน 224 ขึ้นไปจะเป็น Multicast Address ที่กล่าวไว้ข้างต้น
ที่มา : http://www.compspot.net/index.php?option=com_content&task=view&id=94&Itemid=46
OSI Model (Open Systems Interconnection (OSI) Reference Model)
OSI Model เป็นมาตรฐานที่ใช้อ้างอิงถึงวิธีการในการส่งข้อมูลจาก Computer เครื่องหนึ่งผ่านNetwork ไปยัง Computer อีกเครื่องหนึ่ง ซึ่งหากไม่มีการกำหนดมาตรฐานกลางแล้ว การพัฒนาและใช้งานที่เกี่ยวกับ Network ทั้ง Hardware และ Software ของผู้ผลิตที่เป็นคนละยี่ห้อ อาจเกิดปัญหาเนื่องจากการไม่ compatible กัน OSI เป็น model ในระดับแนวคิด ประกอบด้วย Layer ต่างๆ 7 ชั้น แต่ละ Layer จะอธิบายถึงหน้าที่การทำงานกับข้อมูล OSI Model พัฒนาโดย International Organization for Standardization (ISO) ในปี 1984 และเป็นสถาปัตยกรรมโมเดลหลักที่ใช้อ้างอิงในการสื่อสาระหว่าง Computer โดยข้อดีของ OSI Model คือแต่ละ Layer จะมีการทำงานที่เป็นอิสระจากกัน ดังนั้นจึงสามารถออกแบบอุปกรณ์ของแต่ละ Layer แยกจากกันได้ และการปรับปรุงใน Layer หนึ่งจะไม่มีผลกระทบกับ Layer อื่นๆ 7 Layer ของ OSI Model สามารถแบ่งได้เป็น 2 กลุ่ม คือ upper layers และ lower layers
Upper layers โดยทั่วไปจะเป็นส่วนที่พัฒนาใน Software Application โดยประกอบด้วย Application Layer, Presentation Layer และ Session Layer
Lower Layer จะเป็นส่วนที่ทำหน้าที่ในการสื่อสารข้อมูลซึ่งอาจจะพัฒนาได้ทั้งแบบเป็น Software และ Hardware OSI Model ประกอบด้วย 7 Layer คือ
ข้อมูลข่าวสารที่ส่งจาก Application บน Computer เครื่องหนึ่ง ไปยัง Application บน Computer จะต้องส่งผ่านแต่ละ Layer ของ OSI Model ตามลำดับ ดังรูป โดย Layer แต่ละ Layer จะสามารถสื่อสารได้กับ Layer ข้างเคียงในขั้นสูงกว่าและต่ำกว่า และ Layer เดียวกันในอีกระบบ Computer เท่านั้น
Data ที่จะส่งจะถูกเพิ่ม header ของแต่ละชั้นเข้าไป เมื่อมีการรับข้อมูลที่ปลายทางแล้ว header จะถูกถอดออกตามลำดับชั้น
ตัวอย่าง ในการส่ง Mail จะถูกประกบ header เข้าไป 3 ชั้นเรียงจากบนลงมาคือชั้น Transport จะใส่เบอร์ Port ของ Mail คือ Port 25 ชั้น Network จะถูกใส่ต้นทางและปลายทางโดย Router ชั้น Datalink จะใส่เป็น Mac Address โดย Switch
โดยแต่ละ Layer ของ OSI Model จะมีหน้าที่ต่างกันดังนี้
Physical Layer ชั้น Physical เป็นการอธิบายคุณสมบัติทางกายภาพ เช่น คุณสมบัติทางไฟฟ้า และกลไกต่างๆ ของวัสดุที่ใช้เป็นสื่อกลาง ตลอดจนสัญญาณที่ใช้ในการส่งข้อมูล คุณสมบัติที่กำหนดไว้ในชั้นนี้ประกอบด้วยคุณลักษณะทางกายภาพของสาย, อุปกรณ์เชื่อมต่อ (Connector), ระดับความตางศักย์ของไฟฟ้า (Voltage) และอื่นๆ เช่น อธิบายถึงคุณสมบัติของสาย Unshield Twisted Pair (UTP)
Datalink Layer ชั้น Datalink เป็นชั้นที่อธิบายถึงการส่งข้อมูลไปบนสื่อกลาง ชั้นนี้ยังได้ถูกแบ่งออกเป็นชั้นย่อย (SubLayer) คือ Logical Link Control (LLC) และ Media Access Control (MAC) การแบ่งแยกเช่นนี้จะทำให้ชั้น LLC ชั้นเดียวสามารถจะใช้ชั้น MAC ที่แตกต่างกันออกไปได้หลายชั้น ชั้น MAC นั้นเป็นการดำเนินการเกี่ยวกับแอดเดรสทางกายภาพอย่างที่ใช้ในมาตรฐานอีเทอร์เน็ตและโทเคนริง แอดเดรสทางกายภาพนี้จะถูกฝังมาในการ์ดเครือข่ายโดยบริษัทผู้ผลิตการ์ดนั้น แอดเดรสทางกายภาพนั้นเป็นคนละอย่างกับแอดเดรสทางตรรกะ เช่น IP Address ที่จะถูกใช้งานในชั้น Network เพื่อความชัดเจนครบถ้วนสมบูรณ์ของการใช้ชั้น Data-Link นี้
Network Layer ในขณะที่ชั้น Data-Link ให้ความสนใจกับแอดเดรสทางกายภาพ แต่การทำงานในชั้น Network จะให้ความสนใจกับแอดเดรสทางตรรกะ การทำงานในชั้นนี้จะเป็นการเชื่อมต่อและการเลือกเส้นทางนำพาข้อมูลระหวางเครื่องสองเครื่องในเครือข่าย ชั้น Network ยังให้บริการเชื่อมต่อในแบบ "Connection Oriented" อย่างเช่น X.25 หรือบริการแบบ "Connectionless" เช่น Internet Protocol ซึ่งใช้งานโดยชั้น Transport ตัวอย่างของบริการหลักที่ชั้น Network มีให้คือ การเลือกส้นทางนำพาข้อมูลไปยังปลายทางที่เรียกว่า Routing ตัวอย่างของโปรโตคอลในชั้นนี้ประกอบด้วย Internet Protocol (IP) และ Internet Control Message Protocol (ICMP)
Transport Layer ในชั้นนี้มีบางโปรดตคอลจะให้บริการที่ค่อนข้างคล้ายกับที่มีในชั้น Network โดยมีบริากรด้านคุณภาพที่ทำให้เกิดความน่าเชื่อถือ แต่ในบางโปรโตคอลที่ไม่มีการดูแลเรื่องคุณภาพดังกล่าวจะอาศัยการทำงานในชั้น Transport นี้เพื่อเข้ามาช่วยดูแลเรื่องคุณภาพแทน เหตุผลที่สนับสนุนการใช้งานชั้นนี้ก็คือ ในบางสถานการณ์ของชั้นในระดับล่างทั้งสาม (คือชั้น Physical, Data-Link และ Network) ดำเนินการโดยผู้ให้บริการโทรคมนาคม การจะเพิ่มความมั่นใจในคุณภาพให้กับผู้ใช้บริการก็ด้วยการใช้ชั้น Transport นี้"Transmission Control Protocol (TCP) เป็นโปรโตคอลในชั้น Transport ที่มีการใช้งานกันมากที่สุด"
Session Layer ชั้น Session ทำหน้าที่สร้างการเชื่อมต่อ, การจัดการระหว่างการเชื่อมต่อ และการตัดการเชื่อมต่อคำว่า "เซสชัน" (Session) นั้หมายถึงการเชื่อมต่อกันในเชิงตรรกะ (Logic) ระหว่างปลายทางทั้งสองด้าน (เครื่อง 2 เครื่อง) ชั้นนี้อาจไม่จำเป็นต้องถูกใช้งานเสมอไป อย่างเช่นถ้าการสื่อสารนั้นเป็นไปในแบบ "Connectionless" ที่ไม่จำเป็นต้องเชื่อมต่อ เป็นต้น ระหว่างการสื่อสารในแบบ "Connection-less" ทุกๆ แพ็กเก็ต (Packet) ของข้อมูลจะมีข้อมูลเกี่ยวกับเครื่องปลายทางที่เป็นผู้รับติดอยู่อย่างสมบูรณ์ในลักษณะของจดหมายที่มีการจ่าหน้าซองอย่างถูกต้องครบถ้วน ส่วนการสื่อสารในแบบ "Connection Oriented" จะต้องมีการดำเนินการบางอย่างเพื่อให้เกิดการเชื่อมต่อ หรือเกิดเป็นวงจรในเชิงตรรกะขึ้นมาก่อนที่การรับ/ส่งข้อมูลจะเริ่มต้นขึ้น แล้วเมื่อการรับ/ส่งข้อมูลดำเนินไปจนเสร็จสิ้นก็ต้องมีการดำเนินการบางอย่างเพื่อที่จะตัดการเชื่อมต่อลง ตัวอย่างของการเชื่อมต่อแบบนี้ได้แก่การใช้โทรศัพท์ที่ต้องมีการกดหมายเลขปลายทาง จากนั้นก็ต้องมีการดำเนินการบางอย่างของระบบจนกระทั่งเครื่องปลายทางมีเสียงดังขึ้น การสื่อสารจะเริ่มขึ้นจริงเมือ่มีการทักทายกันของคู่สนทนา จากนั้นเมื่อคู่สนทนาฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งวางหูก็ต้องมีการดำเนินการบางอย่างที่จะตัดการเชื่อมต่อลงชั้น Sussion นี้มีระบบการติดตามด้วยว่าฝั่งใดที่ส่งข้อมูลซีงเรียกว่า "Dialog Management"
Simple MailTransport Protocol (SMTP), File Transfer Protocol (FTP) และ Telnet เป็นตัวอย่างของโปรโตคอลที่นิยมใช้ และมีการทำงานครอบคลุมในชั้น Session, Presentation และ Application
Presentation Layer ชั้น Presentation ให้บริการทำการตกลงกันระหว่างสองโปรโตคอลถึงไวยากรณ์ (Syntax) ที่จะใช้ในการรับ/ส่งข้อมูล เนื่องจากว่าไม่มีการรับรองถึงไวยากรณ์ที่จะใช้ร่วมกัน การทำงานในชั้นนี้จึงมีบริการในการแปลข้อมูลตามที่ได้รับการร้องขอด้วย
Application Layer ชั้น Application เป็นชั้นบนสุดของแบบจำลอง ISO/OSI เป็นชั้นที่ใช้บริการของชั้น Presentation (และชั้นอื่นๆ ในทางอ้อมด้วย) เพื่อประยุกต์ใช้งานต่างๆ เช่น การทำ E-mail Exchange (การรับ/ส่งอีเมล์), การโอนย้ายไฟล์ หรือการประยุกต์ใช้งานทางด้านเครือข่ายอื่นๆ
จากรูปเป็นการเปรียบเทียบระหว่าง OSI Model กับการสื่อสารของ Internet โดยจะแสดงรูปแบบข้อมูล, data และอุปกรณ์ที่ทำงานอยู่ในแต่ละ Layer
เป็นอย่างไรมั่งครับ OSI Model ถือเป็นพื้นฐานของ Network เลยทีเดียว ซึ่งหากเราเข้าใจหลักการทำงานของมันแล้ว เราจะสามารถออกแบบและวิเคราะห์ Network ต่างๆ ได้ง่ายขึ้น
ความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับหน่วยของข้อมูลต่างๆ ที่เราเคยได้ยินว่าแต่ละแบบคืออะไร
ข้อมูลที่ส่งในระบบเครือข่ายมีหลายรูปแบบที่หลากหลาย ขึ้นอยู่กับการออกแบบของแต่ละ Application หรือแต่ละผู้ผลิต แต่รูปแบบทั่วไปที่เรียกข้อมูลได้แก่
Frame หน่วยของข้อมูลในระดับ Datalink Layer
Packet หน่วยของข้อมูลในระดับ Network Layer
Datagram หน่วยของข้อมูลในระดับ Network Layer ที่มีรูปแบบการเชื่อมต่อแบบ Connectional Less
Segment หน่วยของข้อมูลในระดับ Transport Layer
Message ระดับข้อมูลในเหนือ Network Layer มักจะหมายถึงระดับ Application Layer
Cell หน่วยข้อมูลที่มีขนาดแน่นอนในระดับ Datalink Layer ใช้เป็นหน่วยในลักษณะการส่งข้อมูลแบบสวิตซ์ เช่น Asynchronous Transfer Mode (ATM) หรือ Switched Multimegabit Data Service (SMDS)
Data unit หน่วยข้อมูลทั่วไป
ที่มา : http://support.mof.go.th/lan/osi.htm
วันอาทิตย์ที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2553
การสื่อสารข้อมูลและระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์

ในปัจจุบันนี้ถือได้ว่าเป็นโลกของข้อมูลข่าวสาร หรืออาจเรียกได้ว่าเป็นยุคของโลกไร้พรมแดน เราควรจะทราบหลักเกณฑ์พื้นฐานของการสื่อสารข้อมูล ประเภท และประโยชน์ที่เราจะได้รับจากการสื่อสารข้อมูลประเภทต่างๆ
การสื่อสารข้อมูล (Data Communication)
องค์ประกอบพื้นฐานของการสื่อสารจะประกอบด้วย
ผู้ส่ง (Sender)
ตัวกลาง (Media)
ข้อมูล (Message)
ผู้รับปลายทาง (Receiver)
องค์ประกอบพื้นฐานของการสื่อสารข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์จะประกอบด้วย
ผู้ส่ง (Sender)
ตัวกลาง (Media)
ข้อมูล (Message)
ผู้รับปลายทาง (Receiver)
โปรโตคอล (Network Protocol)
กฏเกณฑ์ที่ใช้เป็นทางการที่ใช้ในการสื่อสาร
วิธีการส่ง ( Transmission )
การอินเตอร์เฟส (Interface)
การเข้ารหัส ( Coding )
วิธีการตรวจสอบในกรณีที่ข้อมูลที่รับและส่งมีปัญหาให้เป็นรูปแบบเดียวกัน
สามารถแปลงให้เป็นรูปแบบเดียวกันได้
ชนิดของสัญญาณการสื่อสารข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์
1.การส่งสัญญาณแบบอนาล็อก (Analog)
2.การส่งสัญญาณแบบดิจิตอล (Digital)
ทิศทางของการสื่อสารข้อมูล
แบบทิศทางเดียว (Simplex หรือ One-Way)
ข้อมูลจะถูกส่งจากทิศทางหนึ่งไปยังอีกทิศทางหนึ่ง โดยไม่สามารถส่งย้อนกับมาได้ เช่น ระบบวิทยุหรือโทรทัศน์
แบบกึ่งสองทิศทาง (Half Duplex)
ข้อมูลสามารถส่งสลับกันได้ทั้ง 2 ทิศทางโดยต้องผลัดกันส่ง ครั้งละทิศทางเท่านั้น ตัวอย่างเช่น วิทยุสื่อสาร แบบผลัดกันพูด
แบบสองทิศทาง (Full Duplex หรือ Both-Way)
ข้อมูลสามารถส่งพร้อม ๆ กันได้ทั้ง 2 ทิศทางอย่างอิสระ ตัวอย่างเช่น ระบบโทรศัพท์ บางครั้งเราเรียกการสื่อสารแบบสองทิศทางว่า Four-Wire-Line
เพื่อความเป็นระเบียบและความสะดวกแก่ผู้ผลิตและผู้ใช้
สามารถติดต่อสื่อสารข้อมูลกันเป็น แบบระบบเปิด (Open System )
ตัวอย่างโปรโตคอล เช่น TCP/IP (Transmission Control Protocol/Internet Protocol) โปรโตคอล X25 โปรโตคอล BSC ฯลฯ
วันจันทร์ที่ 2 สิงหาคม พ.ศ. 2553
คน 1 คน
การที่เราจะคบหา หรือรู้จักใครสักคน ไม่ว่าจะในฐานะอะไรก็ตาม
สิ่งหนึ่งที่ควรท่อง ควรจำไว้อยู่เสมอก็คือ "คน" เป็นสิ่งมีชีวิต ที่มีทั้งด้านบวกและด้านลบ อยู่ในนั้น
อย่าตั้งใจกับคน 1 คนมากเกินไป
เพราะไม่มีใครอยากเป็นต้นเหตุของความล้มเหลว
อย่าคาดหวังกับ คน 1 คนมากเกินไป
เพราะไม่มีใครสามารถเป็นทุกอย่าง ที่ทุกคนอยากให้เป็น
อย่าให้เวลากับคน 1 คนมากเกินไป
เพราะไม่ว่าใครก็อยากมีช่วงเวลาของความเป็นส่วนตัว. . . คนเดียว ....
อย่าพยายามเปลี่ยนแปลงคน 1 คนมากเกินไป
เพราะนั่นจะทำให้เค้าไม่หลงเหลือความเป็นตัวของตัวเอง
อย่าควบคุมชีวิตคน 1 คนมากเกินไป
เพราะมนุษย์มักจะหาวิธีการแทรกตัว เพื่อออกมาจากกฎที่ถูกกำหนด
อย่าบีบบังคับคน 1 คนมากไปกว่านี้
เพราะถ้าคนๆนั้น หลุดจากภาวะบีบบังคับมาได้ คุณจะกลายเป็นคนที่ถูกหันหลังให้ในทันที
...อยากรู้จักใครสักคน ต้องหัดเรียนรู้ ไม่ใช่เปลี่ยนแปลง...
สิ่งหนึ่งที่ควรท่อง ควรจำไว้อยู่เสมอก็คือ "คน" เป็นสิ่งมีชีวิต ที่มีทั้งด้านบวกและด้านลบ อยู่ในนั้น
อย่าตั้งใจกับคน 1 คนมากเกินไป
เพราะไม่มีใครอยากเป็นต้นเหตุของความล้มเหลว
อย่าคาดหวังกับ คน 1 คนมากเกินไป
เพราะไม่มีใครสามารถเป็นทุกอย่าง ที่ทุกคนอยากให้เป็น
อย่าให้เวลากับคน 1 คนมากเกินไป
เพราะไม่ว่าใครก็อยากมีช่วงเวลาของความเป็นส่วนตัว. . . คนเดียว ....
อย่าพยายามเปลี่ยนแปลงคน 1 คนมากเกินไป
เพราะนั่นจะทำให้เค้าไม่หลงเหลือความเป็นตัวของตัวเอง
อย่าควบคุมชีวิตคน 1 คนมากเกินไป
เพราะมนุษย์มักจะหาวิธีการแทรกตัว เพื่อออกมาจากกฎที่ถูกกำหนด
อย่าบีบบังคับคน 1 คนมากไปกว่านี้
เพราะถ้าคนๆนั้น หลุดจากภาวะบีบบังคับมาได้ คุณจะกลายเป็นคนที่ถูกหันหลังให้ในทันที
...อยากรู้จักใครสักคน ต้องหัดเรียนรู้ ไม่ใช่เปลี่ยนแปลง...
วันอาทิตย์ที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2553
ข้อมูลสถานที่ท่องเที่ยว เกาะเต่า-เกาะนางยวน





เกาะเต่า-เกาะนางยวน เป็นเกาะที่มีธรรมชาติสวยงาม มีความสมบูรณ์ของชีวิตใต้ทะเลมีแนวปะการังทั้งน้ำตื้นและน้ำลึกจึงเสมือนเป็นสวรรค์ของนักดำน้ำกลางอ่าวไทยเกาะเต่าแห่งนี้แม้จะรู้จักกันในฐานะแหล่งท่องเที่ยวได้ไม่นานนักแต่ด้วยทัศนียภาพที่แปลกตา มีอ่าว, แหลม นับสิบแห่งอยู่รอบเกาะ หาดทรายขาวเม็ดทรายละเอียด น้ำทะเลใส ปะการังสวย เป็นที่ประทับใจของนักท่องเที่ยวชื่อของเกาะเต่าจึงรู้จักกันทั้งชาวไทย และชาวต่างชาติอย่างรวดเร็วด้วยระยะทางที่ค่อนข้างห่างไกลจากชายฝั่ง ฝุ่นตะกอนมาไม่ถึงน้ำทะเลจึงใสสะอาด แสงแดดส่องผ่านผิวน้ำลงไปได้ลึกเหล่าปะการังใต้ทะเลเจริญเติบโตได้ดีเป็นแหล่งอาศัยของสัตว์ทะเลมากมายหลายชนิดเกิดเป็นทัศน์วิสัยที่งดงามแห่งโลกใต้ทะเลที่สร้างความสุขใจให้กับนักดำน้ำและนักท่องเที่ยวที่รักความสงบได้ตลอดเวลาที่มาเยือน
การเดินทางไปยังเกาะเต่า-เกาะนางยวน
สามารถเดินทางไปเกาะเต่าได้ทั้งจากจังหวัดชุมพร และจากสุราษฎร์ธานี
จากชุมพร มีเรือออกจากท่าเรือท่ายาง ทั้งเรือด่วน เรือเร็ว เรือนอน จากผู้ให้บริการหลายรายเช่น
• เรือด่วน บริษัท ส่งเสริม รุ่งเรือง โทร.0 2280 7897 ชุมพร โทร.0 7750 6205 เกาะเต่า โทร.0 7745 6274
• เรือด่วน บริษัท เอกวิญญ์ จำกัด โทร.0 7650 1821
• เรือเร็วลมพระยา โทร.0 2629 2569
จากสุราษฎร์ธานี มีเรือนอนออกจากท่าเรือเทศบาลทุกวัน
จากเกาะสมุยและเกาะพงัน มีเรือด่วน เรือเร็วเรือท่องเที่ยว ให้บริการหลายราย ติดต่อรายละเอียดจากผู้ให้บริการซึ่งมีสำนักงานอยู่ใกล้บริเวณท่าเรือแต่ละแห่ง
กิจกรรมที่น่าสนใจในเกาะเต่า-เกาะนางยวน
• เดินเล่นบนหาดทรายขาว เล่นน้ำทะเลใสๆ
• พายเรือคยัค/แคนู แล่นเลียบรอบๆเกาะ
• ชมทิวทัศน์แสนสวยของเกาะนางยวนจากจุดชมวิว
• ออกเรือไปดำน้ำ ดูปะการังทั้งน้ำตื้นและน้ำลึก
• เที่ยวชม-ศึกษาสถานที่ประวัติศาสตร์ของเกาะเต่า
ช่วงเวลาที่เหมาะสม สำหรับการมาท่องเที่ยวเกาะเต่า-เกาะนางยวน
สำหรับช่วงเวลาระหว่างเดือนพฤศจิกายน-ธันวาคม ของทุกปี เป็นช่วงฤดูมรสุมทะเลจะมีคลื่นลมแรง ทำให้การเดินทางไปท่องเที่ยวที่เกาะเต่าอาจไม่สะดวกนักนักท่องเที่ยวควรตรวจสอบสถาพอากาศก่อนออกเดินทาง
คำแนะนำในการท่องเที่ยว
• การขับขี่รถมอเตอร์ไซค์บนเกาะเต่า ผู้ขับขี่ต้องมีความชำนาญในการขี่ และควรใช้ความระมัดระวังอย่างมาก เนื่องจากสภาพทางบางช่วงค่อนข้างสูงชันและอันตราย เช่น ทางไปอ่าวลึก และทางบางเส้นเป็นถนนลูกรัง และควรเลือกเช่ารถจากร้านที่น่าเชื่อถือ โดยสอบถามได้จากที่พักที่ใช้บริการ เนื่องจากรถของร้านเช่าบางแห่งอาจมีสภาพที่ไม่ดี เป็นอันตรายต่อผู้ใช้ หรือทางร้านอาจเรียกร้องค่าใช้จ่ายในการซ่อมแซมรถเป็นจำนวนเงินมากในภายหลังได้
• การเดินขึ้นสู่จุดชมวิวจอห์น-สุวรรณต้องผ่านป่ารกและบางช่วงสูงชัน ผู้ที่ต้องการเดินขึ้นจึงควรใส่รองเท้าผ้าใบและเสื้อผ้าที่เหมาะสมสำหรับการเดินป่า และควรมีผู้นำทางที่ชำนาญในเส้นทางไปด้วย เนื่องจากเส้นทางไม่ชัดเจน หากไปเองอาจหลงทางได้
• ช่วงเวลาที่เหมาะที่สุดสำหรับท่องเที่ยวเกาะเต่า คือ เดือนกุมภาพันธ์-เมษายน
ที่มา : http://www.siamfreestyle.com/travel-attraction/suratthani/kao-tao-koh-nang-yuan.html
ระบบ 3 G
เทคโนโลยี 3G คือ
เทคโนโลยีการสื่อสารในยุคที่สาม (3G) หรือ Third Generation นั้น สามารถส่งข้อมูลในระบบไร้สายด้วยอัตราความเร็วที่สูงขึ้น ขีดความสามารถและคุณภาพสำหรับเสียงและข้อมูลอุปกรณ์ 3G จะอยู่ในรูปของเครื่องมือสื่อสารมัลติมีเดียแบบพกพา ช่วยให้ผู้ใช้สามารถเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตและรับ-ส่งภาพได้ทุกที่ ทุกเวลา
เทคโนโลยียุคที่ 3 เป็นยุคที่มุ่งไปในทางการรวมเทคโนโลยีหลายๆ ด้านมาไว้ด้วยกัน อย่างเช่น โทรศัพท์มือถือ 3G ส่วนในด้านระบบนั้นเน้นการใช้ระบบ CDMA - Code Division Multiple Access และระบบอื่นๆ ที่กำลังปรับเปลี่ยนเข้าสู่ระบบ IMT2000 และ3G อุปกรณ์การสื่อสารยุคที่ 3 จะเป็นอุปกรณ์ที่ผสมผสานการนำเสนอข้อมูลและเทคโนโลยีในปัจจุบันเข้าด้วยกัน เช่น PDA โทรศัพท์มือถือ Walkman กล้องถ่ายรูปและอินเทอร์เน็ต ซึ่ง 3G เป็นเทคโนโลยีที่พัฒนาต่อเนื่องจากยุคที่ 2 และ 2.5 ที่มีการให้บริการระบบเสียง และการส่งข้อมูลในขั้นต้น ซึ่งยังมีข้อจำกัดอยู่มาก
นิยามของเทคโนโลยี 3G
โทรศัพท์เคลื่อนที่ยุคที่สาม หรือมาตรฐาน IMT-2000 นิยามสั้นๆ เพื่อให้เข้าใจตรงกันว่า
“ต้องมี แพลทฟอร์ม (Platform) สำหรับการรวมบริการต่างๆ อาทิ กิจการประจำที่ (Fixed Service) กิจการเคลื่อนที่ (Mobile Service) บริการสื่อสารเสียง ข้อมูล อินเตอร์เน็ต และ พหุสื่อ (Multimedia) เป็นไปในทิศทางเดียวกัน” คือ สามารถถ่ายเท ส่งต่อข้อมูลดิจิตอล ไปยังอุปกรณ์โทรคมนาคมประเภทต่างๆ ให้สามารถรับส่งข้อมูลได้
“มีความสามารถในการใช้โครงข่ายทั่วโลก (Global Roaming)” คือ ผู้บริโภคสามารถ ถือ อุปกรณ์โทรศัพท์เคลื่อนที่ไปใช้ได้ทั่วโลก โดยไม่ต้องเปลี่ยนเครื่อง
“บริการที่ไม่ขาดตอน (Seamless Delivery Service)” คือ การใช้งานโทรศัพท์เคลื่อนที่ โดยไม่รู้สึกถึงการเปลี่ยน Cell Site เขาใช้คำว่า Seam less นั้นแปลว่า ไร้รอยตะเข็บ
อัตราความเร็วในการส่งข้อมูล (Transmission Rate) ในมาตรฐาน IMT-2000 นั้นกำหนด ไว้ว่าต้องมีอัตราความเร็วมากกว่า 144 กิโลบิต/วินาที ในทุกสภาว > ถึง 2 เมกกะบิต/วินาที ในสภาวะกึ่งเคลื่อนที่ > สูงถึง 384 กิโลบิต/วินาที ในสภาวะเคลื่อนที่
จุดเด่นของ 3G
1.ความเร็วในการเชื่อมต่อ การติดต่อ และส่งข้อมูลแบบ wireless (ไร้สาย) ด้วยความเร็วสูง และยังเพิ่มประสิทธิภาพให้เร็วขึ้น เน้นการติดต่ออย่างสมบูรณ์แบบ อย่างการ call conference, ประชุมทางไกล, การดาวน์โหลดภาพ เสียง clip Video เพลง ภาพยนตร์ หรือ Application ต่างๆ รวมถึงการติดต่อธนาคารทางโทรศัพท์ การโอนเงิน เช็คยอดเงิน ซื้อขายของ หาพิกัด ตรวจสอบเส้นทาง ซึ่งจะทำให้ชีวิตสะดวกสบายยิ่งขึ้น 3G ทำให้เราสามารถติดต่อกันได้อย่างรวดเร็ว ย่อโลกในแคบลง ซึ่งถือว่าเป็นหัวใจหลักของเทคโนโลยี
2.ความสมจริง เปรียบเหมือนเป็นการใส่ความรู้สึกเข้าไป เช่น ไฟล์เสียงสมจริง (True tone) การแสดงภาพแบบ 3D หรือการติดต่อเชื่อมโยงต่างๆ แบบ interactive และหัวใจหลักเป็นระบบ Always on ซึ่งเป็นการเชื่อมต่อกับระบบอยู่ตลอดเวลา ทำให้เราไม่พลาดการติดต่อ
ปัจจุบันในเมืองไทยเองก็ก้าวใกล้ความเป็น 3G อยู่พอสมควร หากมองถึงตัวเครื่องโทรศัพท์ก็จะทำอะไรได้หลายอย่างในเครื่องเดียว เช่น โทรศัพท์มือถือหลายรุ่นที่สามารถถ่ายภาพ ฟังเพลง Mp3 ดู TV ผ่านเครือข่าย GPRS หรือ EDGE การจัดการข้อมูล การส่งผ่านข้อมูลในด้านต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น Bluetooth Wi-Fi ส่วนในด้านของระบบในเมืองไทย ที่เห็นว่าใกล้เคียงมาตรฐาน 3G ก็คงจะเป็น การเชื่อมต่อผ่าน EDGE ซึ่ง ด้วยความเร็ว 118 K
การพัฒนาทางด้านเทคโนโลยีของระบบโทรศัพท์เคลื่อนที่(Cellular Mobile Telephone)
ยุคที่ 1 (1st Generation หรือ 1G)
เป็นยุคเริ่มแรกของระบบโทรศัพท์เคลื่อนที่ ใช้เทคโนโลยีระบบ Analog ระบบที่ได้นำเข้ามาใช้ในบ้านเราได้แก่ ระบบ AMPS ระบบ NMT470 และระบบ NMT900 ใช้สัญญาณวิทยุในการส่งคลื่นเสียง เรียกอีกอย่างว่า ระบบ Analog ซึ่งไม่รองรับการส่งผ่านข้อมูลใดๆทั้งสิ้น (Data Service) ซึ่งนั่นก็หมายความว่าสามารถโทรเข้า-ออกได้เพียงอย่างเดียวไม่รองรับแม้กระทั่งการบริการส่งข้อความสั้นๆ SMS (Short Message Service)
ยุคที่ 2 (2nd Generation หรือ 2G)
ใช้เทคโนโลยีระบบ Digital คือการเข้ารหัสดิจิตอลส่งทางคลื่นไมโครเวฟซึ่งทำให้เราเริ่มที่จะสามารถส่งผ่านข้อมูลต่างๆและติดต่อเชื่อมโยงได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้นจนเกิดการกำหนดเส้นทางการเชื่อมกับสถานีฐาน (cell site) ระบบที่ได้นำเข้ามาใช้ในบ้านเราได้แก่ ระบบ GSM900 ระบบ PCN1800 (ซึ่งก็คือระบบ GSM1800) และระบบ CDMA ข้อดีที่เหนือกว่ายุคที่ 1 ได้แก่ รองรับจำนวนผู้ใช้งานได้มากกว่าและสามารถให้บริการรับ-ส่งข้อมูลความเร็วต่ำได้ ทำให้สามารถนำไปใช้งาน internet และบริการด้านพาณิชย์เคลื่อนที่ (Mobile Commerce หรือ M Commerce) เช่น ระบบ i-Mode ของญี่ปุ่น และระบบ WAP ของยุโรป ซึ่งถูกนำเข้ามาให้บริการในบ้านเราเช่นเดียวกัน
ยุคที่ 3 (3rd Generation หรือ 3G)
ยุค 3G เป็นยุคแห่งอนาคตอันใกล้ โดยสร้างระบบใหม่ให้รองรับระบบเก่า และ เรียกว่า Universal Mobile Telecommunication Systems (UMTS) การเข้าถึงเครือข่ายแบบไร้สายสามารถกระทำได้ด้วยอุปกรณ์หลากหลาย เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องใช้ไฟฟ้าอื่นๆ ระบบยังคงใช้การเข้าช่องสัญญาณเป็นแบบ CDMA ซึ่งสามารถบรรจุช่องสัญญาณได้มากกว่า แต่ใช้แบบแถบกว้าง ระบบนี้จึงมีอีกชื่อหนึ่งว่า WCDMA มีแนวโน้มเชื่อมโยงกับระบบอินเตอร์เน็ตได้อย่างสมบูรณ์
คุณสมบัติหลักของ 3G
มีการเชื่อมต่อกับระบบเครือข่ายของ 3G ตลอดเวลาที่เราเปิดเครื่องโทรศัพท์ (always on) นั่นคือไม่จำเป็นต้องต่อโทรศัพท์เข้าเครือข่าย และ log-in ทุกครั้งเพื่อใช้บริการรับส่งข้อมูล ซึ่งการเสียค่าบริการจะเกิดขึ้นเมื่อมีการเรียกใช้ข้อมูลผ่านเครือข่ายเท่านั้น โดยจะต่างจากระบบทั่วไป ที่จะเสียค่าบริการตั้งแต่เราล็อกอินเข้าในระบบเครือข่าย อุปกรณ์สื่อสารไร้สายระบบ 3G สำหรับ 3G อุปกรณ์สื่อสารไม่ได้จำกัดอยู่เพียงแค่โทรศัพท์เท่านั้น แต่ยังปรากฏในรูปแบบของอุปกรณ์ สื่อสารอื่น เช่น Palmtop, Personal Digital Assistant (PDA), Laptop และ PC
มาตรฐาน 3G
มีอยู่ 3 มาตรฐาน ได้แก่
1.WCDMA พัฒนามาจาก GSM และ TDMA (Time Division Multiple Access) ซึ่งทำให้ขยายแถบช่องสัญญาณได้มากและกว้างขึ้น ปัจจุบันแพร่หลายในอเมริกาซึ่งพัฒนาระบบ 2G ไปเป็น EDGE-Enhance Data Rate for GSM ซึ่งเป็นอีกก้าวที่นำไปสู่ 3G คาดว่าระบบ WCDMA นี้จะถูกใช้งานมากที่สุดซึ่งตั้งเป้าหมายไว้แล้วถึง 60 ประเทศเป็นอย่างน้อย
2.CDMA 2000 ปัจจุบันพัฒนาไปถึงระบบ 1x EV-DO เป็นเทคโนโลยีที่มีจุดเด่นด้านการส่งข้อมูลความเร็วสูงครอบคลุมพื้นที่กว้าง 1xEV-DO เป็นระบบเดียวกับ CDMA ที่ได้รับการยอมรับจากสมาพันธ์โทรคมนาคมระหว่างประเทศ (ITU) ให้เป็นเทคโนโลยีที่ได้มาตรฐานการสื่อสารไร้สายยุค 3G ข้อดีคือการใช้งานที่สะดวก ง่ายต่อการติดต่อและสามารถเชื่อมต่อได้หลายรูปแบบทั้ง โทรศัพท์มือถือ PDA Laptop PC โดยสามารถต่อแบบไร้สายได้
3.TD-SCDMA (Time Division-Synchronous Code Division Multiple Access) เป็นเครือข่าย CDMA อีกอย่างที่ถูกนำมาใช้เป็นระบบ 3G ที่ได้รับการรับรองโดย ITU ปัจจุบัน TD-SCDMA ถูกพัฒนาและเริ่มทดลองใช้งานแล้วในประเทศจีน
การพัฒนาของ 3G ในปัจจุบัน บริษัท Qualcomm CDMA เป็นบริษัทที่พัฒนาชิปเซ็ตและ software ของระบบ 3G รายแรกของโลกได้พัฒนาระบบ CDMA 2000 1X และ CDMA 1X EV-DO ซึ่งมีประสิทธิภาพในการส่งผ่านข้อมูลด้วยความเร็วถึง 2.4 Mb การพัฒนาเป็น 3G ระบบ CDMA ถือว่าล้ำหน้ากว่า GSM มาก ทั้งยังมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง เพราะว่าเป็นระบบที่แพร่หลายในประเทศที่พัฒนาในเรื่องนี้ อย่างเช่น ญี่ปุ่น เกาหลี จึงทำให้ ประสิทธิภาพความสามารถในการก้าวไปเป็น 3G นั้น ระบบ CDMA จึงไปได้เร็วกว่า แต่ในขณะเดียวกันก็มีการพยายามที่จะสาน 2 ระบบนี้เข้าด้วยกัน เป็น WCDMA เพื่อความสะดวกสบาย ย่อโลกมาไว้ในมือคุณ
ผู้ให้บริการระบบ
จิ๊กซอว์ตัวสำคัญที่จะทำให้ยุค 3G เกิดขึ้น คือผู้ให้บริการระบบ หรือเจ้าของระบบเครือข่าย แรงจูงใจที่ทำให้ผู้ให้บริการระบบเครือข่ายลงทุนในการพัฒนาสู่ 3G ไม่ใช่แค่เพียงเอาไว้โฆษณาให้ดูดี แต่หมายถึงคุณภาพการให้บริการที่ดีขึ้น และความสามารถในการแข่งขันในธุรกิจ การพัฒนาสู่เทคโนโลยี 3G ต้องรองรับปริมาณผู้ใช้และรูปแบบการใช้งานที่ซับซ้อนมากขึ้น โนเกีย เจ้าของตลาดโทรศัพท์มือถือโลก ซึ่งเป็น ผู้จำหน่ายระบบเครือข่ายการสื่อสารไร้สายให้กับผู้ให้บริการระบบชั้นนำของโลก ส่งมอบเทคโนโลยี 3G ให้กับผู้ให้บริการระบบกว่าครึ่งหนึ่ง และได้ประมาณการไว้ว่า ในปี 2550 การใช้บริการการสื่อสารไร้สายทั่วโลกจะเพิ่มขึ้นถึง 172% ในเรื่องรูปแบบของบริการ ก็จะซับซ้อนมากขึ้น ระบบเครือข่ายก็ต้องทำงานหนักขึ้น
ปัจจุบันนี้ มีผู้ใช้บริการระบบ 78 รายใน 36 ประเทศทั่วโลก ได้ติดตั้งเทคโนโลยี WCDMA หรือ 3G และเริ่มให้บริการได้แล้วซึ่งในจำนวนนี้ครึ่งหนึ่งใช้เทคโนโลยีของโนเกียอยู่และมีผู้ที่ใช้บริการ WCDMA อยู่กว่า 28 ล้านคน เฉพาะในปีนี้ก็มีเพิ่มขึ้นมาถึง 11 ล้านคนทีเดียว ส่วนในประเทศไทย เราจะได้ใช้กันเมื่อไร ก็ต้องรอดูว่า กทช. จะจัดสรรคลื่นความถี่ในย่าน 1900 เมกะเฮิรตซ์อย่างไรถ้าไลเซนส์เรียบร้อย พวกเราคงได้ใช้บริการกัน
ที่มา : pirun.ku.ac.th/~b5005657/3G%20Technology.ppt
เทคโนโลยีการสื่อสารในยุคที่สาม (3G) หรือ Third Generation นั้น สามารถส่งข้อมูลในระบบไร้สายด้วยอัตราความเร็วที่สูงขึ้น ขีดความสามารถและคุณภาพสำหรับเสียงและข้อมูลอุปกรณ์ 3G จะอยู่ในรูปของเครื่องมือสื่อสารมัลติมีเดียแบบพกพา ช่วยให้ผู้ใช้สามารถเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตและรับ-ส่งภาพได้ทุกที่ ทุกเวลา
เทคโนโลยียุคที่ 3 เป็นยุคที่มุ่งไปในทางการรวมเทคโนโลยีหลายๆ ด้านมาไว้ด้วยกัน อย่างเช่น โทรศัพท์มือถือ 3G ส่วนในด้านระบบนั้นเน้นการใช้ระบบ CDMA - Code Division Multiple Access และระบบอื่นๆ ที่กำลังปรับเปลี่ยนเข้าสู่ระบบ IMT2000 และ3G อุปกรณ์การสื่อสารยุคที่ 3 จะเป็นอุปกรณ์ที่ผสมผสานการนำเสนอข้อมูลและเทคโนโลยีในปัจจุบันเข้าด้วยกัน เช่น PDA โทรศัพท์มือถือ Walkman กล้องถ่ายรูปและอินเทอร์เน็ต ซึ่ง 3G เป็นเทคโนโลยีที่พัฒนาต่อเนื่องจากยุคที่ 2 และ 2.5 ที่มีการให้บริการระบบเสียง และการส่งข้อมูลในขั้นต้น ซึ่งยังมีข้อจำกัดอยู่มาก
นิยามของเทคโนโลยี 3G
โทรศัพท์เคลื่อนที่ยุคที่สาม หรือมาตรฐาน IMT-2000 นิยามสั้นๆ เพื่อให้เข้าใจตรงกันว่า
“ต้องมี แพลทฟอร์ม (Platform) สำหรับการรวมบริการต่างๆ อาทิ กิจการประจำที่ (Fixed Service) กิจการเคลื่อนที่ (Mobile Service) บริการสื่อสารเสียง ข้อมูล อินเตอร์เน็ต และ พหุสื่อ (Multimedia) เป็นไปในทิศทางเดียวกัน” คือ สามารถถ่ายเท ส่งต่อข้อมูลดิจิตอล ไปยังอุปกรณ์โทรคมนาคมประเภทต่างๆ ให้สามารถรับส่งข้อมูลได้
“มีความสามารถในการใช้โครงข่ายทั่วโลก (Global Roaming)” คือ ผู้บริโภคสามารถ ถือ อุปกรณ์โทรศัพท์เคลื่อนที่ไปใช้ได้ทั่วโลก โดยไม่ต้องเปลี่ยนเครื่อง
“บริการที่ไม่ขาดตอน (Seamless Delivery Service)” คือ การใช้งานโทรศัพท์เคลื่อนที่ โดยไม่รู้สึกถึงการเปลี่ยน Cell Site เขาใช้คำว่า Seam less นั้นแปลว่า ไร้รอยตะเข็บ
อัตราความเร็วในการส่งข้อมูล (Transmission Rate) ในมาตรฐาน IMT-2000 นั้นกำหนด ไว้ว่าต้องมีอัตราความเร็วมากกว่า 144 กิโลบิต/วินาที ในทุกสภาว > ถึง 2 เมกกะบิต/วินาที ในสภาวะกึ่งเคลื่อนที่ > สูงถึง 384 กิโลบิต/วินาที ในสภาวะเคลื่อนที่
จุดเด่นของ 3G
1.ความเร็วในการเชื่อมต่อ การติดต่อ และส่งข้อมูลแบบ wireless (ไร้สาย) ด้วยความเร็วสูง และยังเพิ่มประสิทธิภาพให้เร็วขึ้น เน้นการติดต่ออย่างสมบูรณ์แบบ อย่างการ call conference, ประชุมทางไกล, การดาวน์โหลดภาพ เสียง clip Video เพลง ภาพยนตร์ หรือ Application ต่างๆ รวมถึงการติดต่อธนาคารทางโทรศัพท์ การโอนเงิน เช็คยอดเงิน ซื้อขายของ หาพิกัด ตรวจสอบเส้นทาง ซึ่งจะทำให้ชีวิตสะดวกสบายยิ่งขึ้น 3G ทำให้เราสามารถติดต่อกันได้อย่างรวดเร็ว ย่อโลกในแคบลง ซึ่งถือว่าเป็นหัวใจหลักของเทคโนโลยี
2.ความสมจริง เปรียบเหมือนเป็นการใส่ความรู้สึกเข้าไป เช่น ไฟล์เสียงสมจริง (True tone) การแสดงภาพแบบ 3D หรือการติดต่อเชื่อมโยงต่างๆ แบบ interactive และหัวใจหลักเป็นระบบ Always on ซึ่งเป็นการเชื่อมต่อกับระบบอยู่ตลอดเวลา ทำให้เราไม่พลาดการติดต่อ
ปัจจุบันในเมืองไทยเองก็ก้าวใกล้ความเป็น 3G อยู่พอสมควร หากมองถึงตัวเครื่องโทรศัพท์ก็จะทำอะไรได้หลายอย่างในเครื่องเดียว เช่น โทรศัพท์มือถือหลายรุ่นที่สามารถถ่ายภาพ ฟังเพลง Mp3 ดู TV ผ่านเครือข่าย GPRS หรือ EDGE การจัดการข้อมูล การส่งผ่านข้อมูลในด้านต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น Bluetooth Wi-Fi ส่วนในด้านของระบบในเมืองไทย ที่เห็นว่าใกล้เคียงมาตรฐาน 3G ก็คงจะเป็น การเชื่อมต่อผ่าน EDGE ซึ่ง ด้วยความเร็ว 118 K
การพัฒนาทางด้านเทคโนโลยีของระบบโทรศัพท์เคลื่อนที่(Cellular Mobile Telephone)
ยุคที่ 1 (1st Generation หรือ 1G)
เป็นยุคเริ่มแรกของระบบโทรศัพท์เคลื่อนที่ ใช้เทคโนโลยีระบบ Analog ระบบที่ได้นำเข้ามาใช้ในบ้านเราได้แก่ ระบบ AMPS ระบบ NMT470 และระบบ NMT900 ใช้สัญญาณวิทยุในการส่งคลื่นเสียง เรียกอีกอย่างว่า ระบบ Analog ซึ่งไม่รองรับการส่งผ่านข้อมูลใดๆทั้งสิ้น (Data Service) ซึ่งนั่นก็หมายความว่าสามารถโทรเข้า-ออกได้เพียงอย่างเดียวไม่รองรับแม้กระทั่งการบริการส่งข้อความสั้นๆ SMS (Short Message Service)
ยุคที่ 2 (2nd Generation หรือ 2G)
ใช้เทคโนโลยีระบบ Digital คือการเข้ารหัสดิจิตอลส่งทางคลื่นไมโครเวฟซึ่งทำให้เราเริ่มที่จะสามารถส่งผ่านข้อมูลต่างๆและติดต่อเชื่อมโยงได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้นจนเกิดการกำหนดเส้นทางการเชื่อมกับสถานีฐาน (cell site) ระบบที่ได้นำเข้ามาใช้ในบ้านเราได้แก่ ระบบ GSM900 ระบบ PCN1800 (ซึ่งก็คือระบบ GSM1800) และระบบ CDMA ข้อดีที่เหนือกว่ายุคที่ 1 ได้แก่ รองรับจำนวนผู้ใช้งานได้มากกว่าและสามารถให้บริการรับ-ส่งข้อมูลความเร็วต่ำได้ ทำให้สามารถนำไปใช้งาน internet และบริการด้านพาณิชย์เคลื่อนที่ (Mobile Commerce หรือ M Commerce) เช่น ระบบ i-Mode ของญี่ปุ่น และระบบ WAP ของยุโรป ซึ่งถูกนำเข้ามาให้บริการในบ้านเราเช่นเดียวกัน
ยุคที่ 3 (3rd Generation หรือ 3G)
ยุค 3G เป็นยุคแห่งอนาคตอันใกล้ โดยสร้างระบบใหม่ให้รองรับระบบเก่า และ เรียกว่า Universal Mobile Telecommunication Systems (UMTS) การเข้าถึงเครือข่ายแบบไร้สายสามารถกระทำได้ด้วยอุปกรณ์หลากหลาย เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องใช้ไฟฟ้าอื่นๆ ระบบยังคงใช้การเข้าช่องสัญญาณเป็นแบบ CDMA ซึ่งสามารถบรรจุช่องสัญญาณได้มากกว่า แต่ใช้แบบแถบกว้าง ระบบนี้จึงมีอีกชื่อหนึ่งว่า WCDMA มีแนวโน้มเชื่อมโยงกับระบบอินเตอร์เน็ตได้อย่างสมบูรณ์
คุณสมบัติหลักของ 3G
มีการเชื่อมต่อกับระบบเครือข่ายของ 3G ตลอดเวลาที่เราเปิดเครื่องโทรศัพท์ (always on) นั่นคือไม่จำเป็นต้องต่อโทรศัพท์เข้าเครือข่าย และ log-in ทุกครั้งเพื่อใช้บริการรับส่งข้อมูล ซึ่งการเสียค่าบริการจะเกิดขึ้นเมื่อมีการเรียกใช้ข้อมูลผ่านเครือข่ายเท่านั้น โดยจะต่างจากระบบทั่วไป ที่จะเสียค่าบริการตั้งแต่เราล็อกอินเข้าในระบบเครือข่าย อุปกรณ์สื่อสารไร้สายระบบ 3G สำหรับ 3G อุปกรณ์สื่อสารไม่ได้จำกัดอยู่เพียงแค่โทรศัพท์เท่านั้น แต่ยังปรากฏในรูปแบบของอุปกรณ์ สื่อสารอื่น เช่น Palmtop, Personal Digital Assistant (PDA), Laptop และ PC
มาตรฐาน 3G
มีอยู่ 3 มาตรฐาน ได้แก่
1.WCDMA พัฒนามาจาก GSM และ TDMA (Time Division Multiple Access) ซึ่งทำให้ขยายแถบช่องสัญญาณได้มากและกว้างขึ้น ปัจจุบันแพร่หลายในอเมริกาซึ่งพัฒนาระบบ 2G ไปเป็น EDGE-Enhance Data Rate for GSM ซึ่งเป็นอีกก้าวที่นำไปสู่ 3G คาดว่าระบบ WCDMA นี้จะถูกใช้งานมากที่สุดซึ่งตั้งเป้าหมายไว้แล้วถึง 60 ประเทศเป็นอย่างน้อย
2.CDMA 2000 ปัจจุบันพัฒนาไปถึงระบบ 1x EV-DO เป็นเทคโนโลยีที่มีจุดเด่นด้านการส่งข้อมูลความเร็วสูงครอบคลุมพื้นที่กว้าง 1xEV-DO เป็นระบบเดียวกับ CDMA ที่ได้รับการยอมรับจากสมาพันธ์โทรคมนาคมระหว่างประเทศ (ITU) ให้เป็นเทคโนโลยีที่ได้มาตรฐานการสื่อสารไร้สายยุค 3G ข้อดีคือการใช้งานที่สะดวก ง่ายต่อการติดต่อและสามารถเชื่อมต่อได้หลายรูปแบบทั้ง โทรศัพท์มือถือ PDA Laptop PC โดยสามารถต่อแบบไร้สายได้
3.TD-SCDMA (Time Division-Synchronous Code Division Multiple Access) เป็นเครือข่าย CDMA อีกอย่างที่ถูกนำมาใช้เป็นระบบ 3G ที่ได้รับการรับรองโดย ITU ปัจจุบัน TD-SCDMA ถูกพัฒนาและเริ่มทดลองใช้งานแล้วในประเทศจีน
การพัฒนาของ 3G ในปัจจุบัน บริษัท Qualcomm CDMA เป็นบริษัทที่พัฒนาชิปเซ็ตและ software ของระบบ 3G รายแรกของโลกได้พัฒนาระบบ CDMA 2000 1X และ CDMA 1X EV-DO ซึ่งมีประสิทธิภาพในการส่งผ่านข้อมูลด้วยความเร็วถึง 2.4 Mb การพัฒนาเป็น 3G ระบบ CDMA ถือว่าล้ำหน้ากว่า GSM มาก ทั้งยังมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง เพราะว่าเป็นระบบที่แพร่หลายในประเทศที่พัฒนาในเรื่องนี้ อย่างเช่น ญี่ปุ่น เกาหลี จึงทำให้ ประสิทธิภาพความสามารถในการก้าวไปเป็น 3G นั้น ระบบ CDMA จึงไปได้เร็วกว่า แต่ในขณะเดียวกันก็มีการพยายามที่จะสาน 2 ระบบนี้เข้าด้วยกัน เป็น WCDMA เพื่อความสะดวกสบาย ย่อโลกมาไว้ในมือคุณ
ผู้ให้บริการระบบ
จิ๊กซอว์ตัวสำคัญที่จะทำให้ยุค 3G เกิดขึ้น คือผู้ให้บริการระบบ หรือเจ้าของระบบเครือข่าย แรงจูงใจที่ทำให้ผู้ให้บริการระบบเครือข่ายลงทุนในการพัฒนาสู่ 3G ไม่ใช่แค่เพียงเอาไว้โฆษณาให้ดูดี แต่หมายถึงคุณภาพการให้บริการที่ดีขึ้น และความสามารถในการแข่งขันในธุรกิจ การพัฒนาสู่เทคโนโลยี 3G ต้องรองรับปริมาณผู้ใช้และรูปแบบการใช้งานที่ซับซ้อนมากขึ้น โนเกีย เจ้าของตลาดโทรศัพท์มือถือโลก ซึ่งเป็น ผู้จำหน่ายระบบเครือข่ายการสื่อสารไร้สายให้กับผู้ให้บริการระบบชั้นนำของโลก ส่งมอบเทคโนโลยี 3G ให้กับผู้ให้บริการระบบกว่าครึ่งหนึ่ง และได้ประมาณการไว้ว่า ในปี 2550 การใช้บริการการสื่อสารไร้สายทั่วโลกจะเพิ่มขึ้นถึง 172% ในเรื่องรูปแบบของบริการ ก็จะซับซ้อนมากขึ้น ระบบเครือข่ายก็ต้องทำงานหนักขึ้น
ปัจจุบันนี้ มีผู้ใช้บริการระบบ 78 รายใน 36 ประเทศทั่วโลก ได้ติดตั้งเทคโนโลยี WCDMA หรือ 3G และเริ่มให้บริการได้แล้วซึ่งในจำนวนนี้ครึ่งหนึ่งใช้เทคโนโลยีของโนเกียอยู่และมีผู้ที่ใช้บริการ WCDMA อยู่กว่า 28 ล้านคน เฉพาะในปีนี้ก็มีเพิ่มขึ้นมาถึง 11 ล้านคนทีเดียว ส่วนในประเทศไทย เราจะได้ใช้กันเมื่อไร ก็ต้องรอดูว่า กทช. จะจัดสรรคลื่นความถี่ในย่าน 1900 เมกะเฮิรตซ์อย่างไรถ้าไลเซนส์เรียบร้อย พวกเราคงได้ใช้บริการกัน
ที่มา : pirun.ku.ac.th/~b5005657/3G%20Technology.ppt
วันอาทิตย์ที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2553
เว็บบล็อกของนักศึกษาวิทยาลัยชุมขนสมุทรสาคร ปี 2553
นาย ญาณภัทร ศรีทอง
สาขาวิชา คอมพิวเตอร์ธุกิจ ปี 1 ห้อง 2
เรื่อง ขั้นตอน การคัดลอก File / Folder
คลิกเลือก File หรือ Folder
คลิกที่เมนู Edit ในเมนูบาร์
เลื่อนเม้าส์มาคลิกที่เมนู Copy
เมื่อทำการคลิก Copy แล้ว โปรแกรมจะทำการจำสิ่งที่เราเลือกไว้ ขั้นตอนต่อไปคือ ดับเบิ้ลคลิกเลือกจุที่จะเอาข้อมูลไปเก็บ
ขั้นตอน การนำข้อมูลไปเก็บ หรือ วาง ในแหล่งที่ต้องการ
คลิกที่เมนู Edit ในเมนูบาร์ จะมีคำสั่ง Paste เพิ่มขึ้นมา
เลื่อนเม้าส์มาคลิกที่เมนู Paste เป็นการสั่งโอนย้ายข้อมูล
หมายเหตุ คัดลอกข้อมูลไปยังอีกที่หนึ่งจนกว่าจะครบแล้วหน้าต่างจะหายไปเอง
หรือถ้าหากท่านใดไม่เข้าใจการคัดลอกไฟล์/โฟลเดอร์
สามารถเข้าไปดูรูปภาพการใช้งานได้ที่
http://www.siamtech.ac.th/Learning/niphon/today_05/files_06.htm
สาขาวิชา คอมพิวเตอร์ธุกิจ ปี 1 ห้อง 2
เรื่อง ขั้นตอน การคัดลอก File / Folder
คลิกเลือก File หรือ Folder
คลิกที่เมนู Edit ในเมนูบาร์
เลื่อนเม้าส์มาคลิกที่เมนู Copy
เมื่อทำการคลิก Copy แล้ว โปรแกรมจะทำการจำสิ่งที่เราเลือกไว้ ขั้นตอนต่อไปคือ ดับเบิ้ลคลิกเลือกจุที่จะเอาข้อมูลไปเก็บ
ขั้นตอน การนำข้อมูลไปเก็บ หรือ วาง ในแหล่งที่ต้องการ
คลิกที่เมนู Edit ในเมนูบาร์ จะมีคำสั่ง Paste เพิ่มขึ้นมา
เลื่อนเม้าส์มาคลิกที่เมนู Paste เป็นการสั่งโอนย้ายข้อมูล
หมายเหตุ คัดลอกข้อมูลไปยังอีกที่หนึ่งจนกว่าจะครบแล้วหน้าต่างจะหายไปเอง
หรือถ้าหากท่านใดไม่เข้าใจการคัดลอกไฟล์/โฟลเดอร์
สามารถเข้าไปดูรูปภาพการใช้งานได้ที่
http://www.siamtech.ac.th/Learning/niphon/today_05/files_06.htm
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)